1 / 32

ความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อ เอช

ความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อ เอช ไอวีและเด็กได้รับผลกระทบ โดย นายแพทย์บุญแสง บุญอำนวยกิจ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 3 . เอดส์...รู้จัก....รักษาได้. กลุ่มอาการ ภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง.

Jims
Télécharger la présentation

ความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อ เอช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กได้รับผลกระทบความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กได้รับผลกระทบ โดย นายแพทย์บุญแสง บุญอำนวยกิจ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 3

  2. เอดส์...รู้จัก....รักษาได้เอดส์...รู้จัก....รักษาได้

  3. กลุ่มอาการ ภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง โรคเอดส์ คืออะไร..? A = Acquired I = Immuno D = Deficiency S = Syndrome

  4. โรคเอดส์...เกิดจาก? เกิดจากการติดเชื้อไวรัสHIV (Human Immunodeficiency Virus)สามารถแบ่งตัวได้ในเซลล์ของคน เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์สมอง เมื่อร่างกายติดเชื้อ จะสร้างภูมิต้านทาน (Antibody)ต่อต้านเชื้อไวรัส แต่ไม่สามารถกำจัดให้หมด เชื้อยังคงอยู่ในเม็ดเลือดและแพร่ต่อไปได้และจะไปทำลายเม็ดเลือดขาว T4 Lymphocyteซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการควบคุมระบบภูมิต้านทานของร่างกายทำให้ภูมิต้านทานลดลง

  5. คุณสมบัติของเชื้อไวรัสHIVคุณสมบัติของเชื้อไวรัสHIV • แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ในร่างกายมนุษย์เท่านั้น • ต้องมีแหล่งที่อยู่ให้อาศัย (เม็ดเลือดขาวซึ่งเป็นระบบภูมิคุมกัน • ของร่างกายอยู่ในกระแสเลือด) • กลายพันธุ์เร็ว ปัจจุบันมีหลายสายพันธุ์ • เมื่อออกนอกร่างกาย ไม่สามารถทนสภาพแวดล้อมภายนอกได้ • อาจมีชีวิตอยู่ได้นานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม • และอุณหภูมิที่เหมาะสม

  6. 1. ทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ติดต่อได้ 3 ทางหลักๆ • - ชายสู่หญิง • - ชายสู่ชาย • - หญิงสู่หญิง “ ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ” “ผู้ที่เปลี่ยนคู่นอนบ่อย ”

  7. 2. ทางเลือด • การรับเลือดขณะทำผ่าตัดหรือเพื่อรักษา • การรับการปลูกถ่ายอวัยวะ • การใช้เข็ม หรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ • การสัก การเจาะ

  8. 3. ทางมารดาสู่ทารก • ก่อนคลอดทางสายรก • ขณะคลอด • ระยะหลังคลอด

  9. การติดเชื้อเอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก

  10. การติดเชื้อจากแม่สู่ลูกการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ระดับโอกาสของการติดเชื้อ ระยะก่อนคลอด ระยะหลังคลอด ระยะคลอด กราฟแสดงโอกาสการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูกในระยะต่างๆ

  11. ระยะ : ตั้งครรภ์/ก่อนคลอด Vertical transmission (ติดต่อจากแม่สู่ลูก) • ผ่านทางรก • ช่วง Antigenemia • (ระยะแฝง และ ระยะสุดท้าย) • คลอดก่อนกำหนด (< 34 สัปดาห์) ปัจจัยเสริม • สร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม • Safe Sex • ป้องการติดเชื้ออื่นๆโดยเฉพาะทางเดินปัสสาวะ • ในยาต้านไวรัส (AZT) ลดปริมาณไวรัส วิธีลดเชื้อ ป้องกันการรับเชื้อ

  12. ระยะ : ระหว่างคลอด • มดลูกหดรัดตัว • ถุงน้ำคร่ำแตก (เชื้อจากช่องคลอดจะเข้าสู่ • โพรงมดลูกได้ • ทารกสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งในช่องคลอด Vertical transmission (ติดต่อจากแม่สู่ลูก) • มดลูกหดรัดตัวรุนแรง • ถุงน้ำคร่ำแตกยาวนาน • ระยะที่ 2 ของการคลอดมีการบาดเจ็บ/ยาวนาน ปัจจัยเสริม • ป้องกันการหดรัดตัวของมดลูก • ป้องกันไม่ให้ถุงน้ำคร่ำแตกยาวนาน • ช่วยคลอดกรณีคลอดยาก • ให้ยาต้านไวรัส (AZT,NVP) วิธีลดเชื้อ ป้องกันการรับเชื้อ

  13. ระยะ : หลังคลอด Vertical transmission (ติดต่อจากแม่สู่ลูก) • สารคัดหลั่งที่เลอะตัวหลังคลอด • ทางน้ำนม ปัจจัยเสริม • หัวนมแตกมีแผล • อาบน้ำล้างตัวทารกโดยเร็ว • งดเว้นการดูดนม • ให้ยาต้านไวรัสแก่ทารก วิธีลดเชื้อ ป้องกันการรับเชื้อ

  14. สรุป : มาตรการป้องกันการติดเชื้อHIV จากแม่สู่ลูก • การเข้าถึงระบบบริการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ : ANC , VCT • ลดปริมาณไวรัสในกระแสเลือดและสารคัดหลั่ง • - การใช้ยาต้านไวรัส • - การบำรุงร่างกายให้แข็งแรง • การลดการสัมผัสเชื้อจากมารดา • - คลอดอย่างระมัดระวัง • - หลีกเลี่ยงการใช้นมมารดา • - การให้ยาต้านไวรัสแก่ทารกหลังคลอด

  15. T M M M M B กลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกาย

  16. กลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกายกลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกาย

  17. ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณซีดี4 กับระยะเวลาที่ติดเชื้อ ปริมาณซีดี4 700 500 วัณโรค งูสวัดรุนแรง เชื้อราในปาก เริมที่อวัยวะเพศ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ริ้วขาวข้างลิ้น ท้องเสียเรื้อรัง ตุ่มพีพีอี 200 ปอดอักเสบพีซีพี ผู้ป่วยเอดส์ เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง ฝีในสมอง วัณโรคนอกปอด ซีเอ็มวี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระยะเวลา (ปี)

  18. เหมือน: • ทั้งผู้ติดเชื้อเอชไอวี และ ผู้ป่วยเอดส์ต่างได้รับเชื้อ เอชไอวี เข้าสู่ร่างกายเหมือนกัน ต่างกัน: • ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หมายถึง ผู้ที่รับเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายแล้วยังไม่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสและมีภูมิคุ้มกัน (CD4) มากกว่า 200 เซลล์ • ผู้ป่วยเอดส์ หมายถึง ผู้ที่รับเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจนกระทั่งมีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสหรือไม่เจ็บป่วยก็ได้แต่ระดับภูมิคุ้มกัน (CD4) น้อยกว่า 200 เซลล์

  19. คุณคิดว่าใครเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีคุณคิดว่าใครเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี มากที่สุด • พระ • แม่บ้าน • แม่ชี • พยาบาล • ชายรักร่วมเพศ • หญิงขายบริการ • กรรมกร • นักเรียนพาณิชย์

  20. CD 4……คือ อะไร • เป็นเซลเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocytesที่ทำหน้าที่ในการต่อสู้เชื้อโรค และเป็นเป้าหมายสำคัญที่เชื้อเอชไอวีเข้าไปเจริญเติบโตและแบ่งตัวทำลายเซลล์ • ระดับ CD4 ในคนปกติ มีค่าอยู่ที่ 500-1600 เซลล์ต่อเลือด 1 mm3 • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีถ้าไม่ได้รับการรักษา CD4 จะลดลงปีละประมาณ 50-100 เซลล์ต่อปี

  21. Viral load……คือ อะไร • คือ ปริมาณ HIV-RNA ที่มีในกระแสเลือดของผู้ติดเชื้อเอชไอวี แต่ละคน ปริมาณเชื้อจะมากหรือน้อย ขึ้นกับ - การตอบสนองของภูมิคุ้มกันของร่างกาย - คุณสมบัติในการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัส - ระยะของการติดเชื้อ • การตรวจไวรัสโหลด คือ การนับจำนวนไวรัสเอช ไอ วี อิสระในเลือด 1 ซีซี

  22. นโยบายการดำเนินงานการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 • 1. สถานบริการสาธารณสุขทุกเครือข่ายควรจัดให้มีบริการปรึกษาทั้งก่อนและหลังการตรวจหาเชื้อเอชไอวี อย่างมีคุณภาพ ควรให้การปรึกษาแบบคู่ (Couple counseling) และเก็บผลการตรวจเป็นความลับอย่างเคร่งครัด โดยแจ้งให้ทราบเฉพาะบุคคล และผู้ที่ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีอนุญาตเท่านั้น • 2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคนและสามีหรือคู่ครองจะได้รับการปรึกษาแบบคู่ และตรวจหาเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจ • หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจะได้รับการตรวจเซลล์ CD4 • ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง (Highly Active Anti retroviral Therapy : HAART) หรือรักษาด้วยยาต้านไวรัสอื่นๆ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข

  23. นโยบายการดำเนินงานการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 • 3. เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี • จะได้รับยาต้านไวรัสเมื่อแรกเกิด • ได้รับนมผสมสำหรับเลี้ยงทารก • ได้รับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข • 4. แม่ ลูก และสามีหรือคู่ครองที่ติดเชื้อเอชไอวี จะได้รับยาต้านไวรัสตามสภาพของการติดเชื้อ การส่งเสริมสุขภาพและการติดตามการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง

  24. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด

  25. เป้าหมายของแผนเอดส์ชาติปี พศ. 2555 – 25593-zeros • ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ = ไม่มีเด็กติดเชื้อจากแม่ในระหว่างตั้งครรภ์-คลอด-หลังคลอด = ไม่มีการติดเชื้อระหว่างคู่สามี - ภรรยา • ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอชไอวี/เอดส์ = แม่, เด็ก, พ่อ ที่ติดเชื้อได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลรักษาเรื่อง เอชไอวี โดยเร็วที่สุด • ไม่มีการรังเกียจ ตีตรา = ไม่มีอุปสรรคในการเข้ารับบริการของผู้ติดเชื้อฯ จากทัศคติรังเกียจ ตีตราโดยผู้ให้บริการ

  26. อัตราการติดเชื้อเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบศูนย์อนามัยที่ 3จำแนกรายปี 2539 – 2554 % แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS ตั้งแต่ปี 47 รวมนครนายก สมุทรปราการ

  27. จำนวนและอัตราหญิงหลังคลอด /หญิงติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับยาต้านไวรัสในการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก ภาพรวม 9 จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบ ของศูนย์อนามัยที่ 3 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 - 2554 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS

  28. จำนวนและอัตราเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี อายุ 18-24 เดือนทั้งหมด ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวี และมีผลเลือดบวก ภาพรวม 9 จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 - 2554 แหล่งข้อมูล : รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอช ไอ วี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  29. ผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็กจำแนกเป็นรายจังหวัดปีงบประมาณ 2554 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS/รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี

  30. ผลการดำเนินงานฝากครรภ์แบบคู่ของ 9 จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ปี 2554 (ตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554)

  31. ข้อเท็จจริง 10 ประการเกี่ยวกับเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวีและเอดส์ ดังนี้ • ลูกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี ไม่ได้ติดเชื้อทุกคน • การรักษาด้วยยาต้านไวรัส เป็นการรักษาที่สามารถช่วยให้เด็กที่มีเชื้อทุกคนมีภูมิคุ้มกันสูงขึ้น ลดปริมาณเชื้อเอชไอวี ลดการเจ็บป่วย มีสุขภาพแข็งแรงขึ้น • เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีสามารถเรียนหนังสือ เติบโต และมีชีวิตตามปกติ • ไม่มีใครติดเชื้อเอชไอวีจากการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี • วัณโรคไม่ติดจากการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่มีเชื้อเอชไอวี ที่ป่วยเป็นวัณโรคที่กินยามานานกว่า 2 สัปดาห์ • ไม่เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องแยกเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี ไปอยู่โรงเรียนหรือสถานที่เฉพาะแยกจากเด็กทั่วไป • การนำเด็กไปตรวจเลือดเป็นการละเมิดสิทธิเด็ก • ไม่จำเป็นต้องบอกให้เด็กรู้ถึงผลเลือดหรือการติดเชื้อเอชไอวี • ไม่จำเป็นต้องให้การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์เป็นพิเศษมากกว่าเด็กทั่วไป • เด็กได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ มีศักยภาพในการเรียนรู้และรับรู้เหมือนเด็กทั่วไป

More Related