1 / 32

นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย ผอ. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

มาตรฐานปริญญาเอกของ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.). นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย ผอ. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก. โรงแรมเอเชีย 29 มีนาคม 2550. มาตรฐานปริญญาเอกของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.). ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อคุณภาพการผลิตดุษฎีบัณฑิต

Sophia
Télécharger la présentation

นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย ผอ. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานปริญญาเอกของ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย ผอ. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก โรงแรมเอเชีย 29 มีนาคม 2550

  2. มาตรฐานปริญญาเอกของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) • ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อคุณภาพการผลิตดุษฎีบัณฑิต • มาตรการเชิงคุณภาพและการดำเนินการของ คปก. • ผลการดำเนินงานของ คปก. และคุณภาพของผลงานวิจัย และดุษฎีบัณฑิต คปก. • ปัจจัยความสำเร็จในการนำไปสู่คุณภาพของการผลิตดุษฎีบัณฑิต คปก. สาระสำคัญของการบรรยาย 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  3. ประโยชน์ของการศึกษาระดับปริญญาเอกประโยชน์ของการศึกษาระดับปริญญาเอก ดุษฎีบัณฑิต หรือ Ph.D. “ ผู้ประสบความสำเร็จในการศึกษาและค้นคว้าจนสามารถขยายขอบเขตความรู้ที่มีอยู่ หรือ ได้องค์ความรู้ใหม่ ” ประโยชน์ของการศึกษาระดับปริญญาเอก • กระบวนการผลิตได้ผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ • ได้ผู้เชี่ยวชาญเพิ่มขึ้น ความสำคัญของการศึกษาระดับปริญญาเอก • หน่วยงานวิจัยในประเทศฝรั่งเศสใช้จำนวนนักศึกษาปริญญาเอกที่ทำวิทยานิพนธ์เป็นดัชนีวัดความเข้มแข็งด้านการวิจัย • จำนวนดุษฎีบัณฑิตชี้ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมของประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  4. บทบาทของการศึกษาระดับปริญญาเอกในการพัฒนาประเทศบทบาทของการศึกษาระดับปริญญาเอกในการพัฒนาประเทศ • สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นฐานพลังทางปัญญาของประเทศ • สร้างความรู้พื้นฐานเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ • สร้างพัฒนาความรู้พื้นฐานทาง ว.&ท. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม • แก้ปัญหาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ภาคอุตสาหกรรม • แก้ปัญหาทางสังคมที่รีบด่วนของประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  5. Input Process Output กระบวนการควบคุมคุณภาพการผลิตบุคลากรระดับปริญญาเอก • คุณภาพ นศ. • คุณภาพอาจารย์ที่ปรึกษา • โครงสร้างพื้นฐาน • เงินทุนสนับสนุนการวิจัย • หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ • กระบวนการคัดเลือกผู้เรียนเข้าเป็น นศ. ป.เอกที่สมบูรณ์ • การสอบวิทยานิพนธ์ • กระบวนการคัดเลือกผู้สอบไล่ภายนอก • บทบาทของผู้สอบไล่ภายนอก • คุณภาพผลงานวิจัย • การตีพิมพ์ในวารสารที่มีคุณภาพ • การจดสิทธิบัตร • การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณภาพ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  6. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)(พ.ศ. 2539) วัตถุประสงค์หลัก : เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ระบบวิจัยของประเทศ ความเป็นมา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)(พ.ศ. 2534) 16Feb06_สัมมนาวิชาการบัณฑิต คปก.500คน(แก้ไข27Jan06)

  7. หน่วยงานสนับสนุนทุนวิจัยเห็นร่วมกันว่า ปัญหามาจากการขาดแคลนนักวิจัย สกว. โดยความร่วมมือของ สกอ. และ สวทช. ได้เสนอ คปก. ต่อ ครม. เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนนักวิจัย เหตุผลในการริเริ่ม คปก. ของ สกว. ในปี 2539 ระบบวิจัยของไทยอ่อนแอมาก จำนวนนักวิจัย : 2 คนในประชากร 10000 คน การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา : 0.26% ของ GDP 16Feb06_สัมมนาวิชาการบัณฑิต คปก.500คน(แก้ไข27Jan06)

  8. ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับ คปก. • ริเริ่มโครงการในปี 2539 โดย สกว. มีวัตถุประสงค์ที่จะ • เพิ่มจำนวนดุษฎีบัณฑิตที่เชี่ยวชาญด้านการวิจัย • ผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติและสิทธิบัตร • สร้างความเข้มแข็งให้บัณฑิตศึกษาในระบบมหาวิทยาลัยไทย • ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างนักวิจัยไทยและนักวิจัยต่างประเทศ • ประหยัดค่าใช้จ่ายในการพัฒนาบุคลากรระดับ ป.เอก • บริหารจัดการโดย สกว. โดยร่วมมือกับ สกอ. และ สวทช. • มีเป้าหมายจะผลิตดุษฎีบัณฑิต 5,000 คน ในเวลา 15 ปี • ดำเนินการโดยงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ • รับ นศ. คปก. รุ่นแรกปี 2541 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  9. มาตรการเชิงคุณภาพ คปก. ให้ความสำคัญสูงสุดต่อคุณภาพเพื่อให้ได้ดุษฎีบัณฑิตที่ได้มาตรฐานสากล 1. คุณภาพอาจารย์ที่ปรึกษา • มีประสบการณ์ทำวิจัยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาโดยมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ • มีความร่วมมือกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยชั้นนำในต่างประเทศ ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 2. คุณภาพนักศึกษา • ผู้สำเร็จ ป.ตรี ต้องได้ (1) เกียรตินิยมอันดับ 1 หรือ (2) เกียรตินิยมดับ 2 และอยู่ใน 10% แรกของชั้น • ผู้สำเร็จ ป.โท ต้องมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ หรือ เสนอในที่ประชุมที่มีคุณภาพ และมีผลการเรียนในระดับดีมาก (http://rgj.trf.or.th) 3. การตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติหรือจดสิทธิบัตร • นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ในวารสารวิชาการนานาชาติหรือจดสิทธิบัตรก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 1 เรื่อง 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  10. มาตรการด้านหลักสูตร ต้องเป็นหลักสูตรปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยโดยมีการเรียนรายวิชา (course work) ไม่เกินที่กำหนดดังต่อไปนี้ หลักสูตรสำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท หลักสูตรสำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 12 36 ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 48 24 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  11. มาตรการเสริมคุณภาพ • นักศึกษา คปก. มีโอกาสไปทำวิจัยในตางประเทศ 6-12 เดือน • การเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมใหญ่ประจำปี (RGJ-Ph.D. Congress) • การเสนอผลงานวิจัยในการสัมมนา (RGJ-Ph.D. seminar series) • เครือข่ายอีเล็คทรอนิคส์ • จดหมายข่าว คปก. (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของวารสารประชาคมวิจัย) • ผู้ประสานงานระดับมหาวิทยาลัย • ที่ปรึกษาด้านต่างประเทศและวิชาการ • การเยี่ยมเยือนสถาบัน (Site visit) 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  12. ขั้นตอนที่สำคัญในการดำเนินการของ คปก. • คปก. จัดสรรทุนให้ อ.ที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ปีละ 250-300 คน • อ.ที่ปรึกษาคัดเลือก นศ. ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ เพื่อรับทุน คปก. ในฐานะผู้ช่วยวิจัย โดยความเห็นชอบของ คปก. • นศ. คปก. ต้องไปทำวิจัยกับ อ.ที่ปรึกษาร่วมในต่างประเทศ เป็นเวลา 6-12 เดือน • นศ. คปก. ต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติก่อนสำเร็จการศึกษา 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  13. ขั้นตอนที่สำคัญในการดำเนินการของ คปก. 250-300 ทุนต่อปี โดยความเห็นชอบ ของ คปก. อ.ที่ปรึกษาต่างประเทศ อาจารย์ที่ปรึกษาไทย 250-300 ทุนต่อปี นศ. คปก. ไปทำวิจัยต่างประเทศ 6-12 เดือน ต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติก่อนสำเร็จการศึกษา ดุษฎีบัณฑิต คปก. 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  14. อาจารย์ที่ปรึกษาไทย (14%) 300,000 บาท • ค่าใช้จ่ายต่างประเทศ • เป็นค่าตอบแทน อาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศ (14%) 300,000 บาท • ค่าใช้จ่ายในการมาให้คำปรึกษาในประเทศไทย และค่า bench fees (ถ้ามี) นักศึกษา (72%) 1,550,000 บาท • ค่าใช้จ่ายประจำเดือนๆ ละ 10,000-11,000 • ค่าธรรมเนียมการศึกษาและวิจัยปีละ 80,000 • ค่าใช้จ่ายต่างประเทศ 500,000 • ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 100,000 ทุน คปก. ให้อะไรกับ นศ. และ อาจารย์ที่ปรึกษาบ้าง ทุน คปก. มีมูลค่าประมาณ 1.7 ล้านบาทโดยเฉลี่ย( 1.5-2.1 ล้านบาท) รายละเอียดของทุนสำหรับผู้ได้รับทุน 5 ปี (นศ.วุฒิปริญญาตรี) 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  15. สรุปผลการดำเนินการในช่วง 9 ปีที่ผ่านมา (ข้อมูลถึง 28 ก.พ. 50) • อ.ที่ปรึกษาไทยที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ 761 คน • ทุนทั้งหมดที่จัดสรรให้ อ.ที่ปรึกษา 2,449 คน • นศ.คปก. ที่เข้าสู่โครงการ 1,887 คน • อ.ที่ปรึกษาต่างประเทศที่เข้าร่วมโครงการ 1,587 คน • ดุษฎีบัณฑิตที่ผลิตได้ 777 คน • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ 1,835 เรื่อง • สิทธิบัตรที่ได้ยื่นจด 37 เรื่อง 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  16. การกระจายทุน คปก. ตามมหาวิทยาลัยและสาขาวิชา ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 1-9 (2541-2550) ณ วันที่ 28 ก.พ. 50 *ในปีงบประมาณ 2550 คาดว่า คปก. จะเซ็นสัญญาให้ทุนรุ่นที่ 9 ได้อีกประมาณ 225 ทุน 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  17. คุณภาพนักศึกษาที่เข้าสู่ คปก. • นศ. ที่เข้าสู่ คปก. มีคุณภาพระดับดีมาก เมื่อเทียบกับโครงการระดับบัณฑิตศึกษาอื่นๆ ปี 2549 ปี 2541-2549 เกียรตินิยมอันดับ 1 เกียรตินิยมอันดับ 1 เกียรตินิยมอันดับ 2 เกียรตินิยมอันดับ 2 71 (31%) 74 ( 32%) 337 (18%) 583 ( 31%) 86 ( 37%) 949 ( 51%) จาก 10% แรก และ ป.โท มีผลงานวิจัยเผยแพร่ จาก 10% แรก และ ป.โท มีผลงานวิจัยเผยแพร่ จำนวนนักศึกษาในโครงการทั้งหมด: 1,869 คน จำนวนนักศึกษาปี 2549 : 231 คน 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  18. ประสิทธิภาพและศักยภาพของ คปก. ในการผลิตดุษฎีบัณฑิต (ข้อมูลถึง 28 ก.พ.50) • สัดส่วนของ นศ.คปก.ที่สำเร็จการศึกษา มากกว่า 92% • จากจำนวน นศ. ที่เข้าสู่โครงการแล้ว 1,887 คน • คปก. มีศักยภาพที่จะผลิตดุษฎีบัณฑิตได้มากกว่า 2,000 คน • จำนวนดุษฎีบัณฑิตที่ผลิตได้ 777 คน 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  19. จำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารนานาชาติในแต่ละปีงบประมาณจำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารนานาชาติในแต่ละปีงบประมาณ ผลงานตีพิมพ์ต่อดุษฎีบัณฑิต = 2 โดยเฉลี่ย คปก. ยื่นจดสิทธิบัตรแล้ว 37 เรื่อง 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  20. การประหยัดงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอกการประหยัดงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอก คปก. ช่วยให้เกิดการประหยัดงบประมาณของประเทศในการพัฒนาบุคลากรระดับ ป.เอก เมื่อเทียบกับการส่งไปศึกษาต่อต่างประเทศ แผนภูมิเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการสร้างดุษฎีบัณฑิตระหว่างทุน คปก. และการส่งไปศึกษาในต่างประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  21. คปก. ทำให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างประเทศไทย มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยชั้นนำของโลก น.ศ.คปก.ได้มีโอกาสไปทำวิจัยในมหาวิทยาลัยชั้นนำกว่า 700 แห่ง ใน 39 ประเทศทั่วโลก อาจารย์ที่ปรึกษาไทย 761 คนจาก ม.ชั้นนำของไทย 20 แห่ง อาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศ 1,587 คนจาก ม.และสถาบันวิจัยชั้นนำของโลกกว่า 700 แห่งใน 39 ประเทศทั่วโลก ร่วมมือเพื่อให้คำปรึกษางานวิจัยแก่ นศ.คปก. 1,869 คน • โครงการวิจัยร่วม • เครือข่ายศูนย์ความเป็นเลิศที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศไทย 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  22. จำนวนอาจารย์ต่างประเทศที่ร่วมมือกับผู้ได้ทุน คปก.รุ่นที่ 1-9 (2541-2549) แยกตามประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  23. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันวิจัยชั้นนำในต่างประเทศการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันวิจัยชั้นนำในต่างประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  24. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันวิจัยชั้นนำในต่างประเทศการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันวิจัยชั้นนำในต่างประเทศ มหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก*ที่ นศ.คปก. ได้ไปทำวิจัย 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  25. สถาบันวิจัยชั้นนำของโลกที่ นศ. คปก. ได้ไปทำวิจัย USA National Institutes of Health (NIH) (9) France Institut Pasteur (7) Germany Max Planck Institut (3) Canada National Research Council of Canada (2) Germany Boehringer Ingelheim (1) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันวิจัยชั้นนำในต่างประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  26. ๐ การสรรหา อ.ที่ปรึกษาและคัดเลือก นศ.ที่มีคุณภาพ ๐ การจัดหางบประมาณสนับสนุน ก่อนนักศึกษาเข้าสู่โครงการ ๐ พนักงานของคปก. - การติดตามความก้าวหน้าและแก้ปัญหา นศ. - การเดินทางไปต่างประเทศของ นศ.และ อ.ที่ปรึกษาไทย - การเดินทางมาประเทศไทยของอ.ที่ปรึกษาต่างประเทศ - การตีพิมพ์ผลงานวิจัย การสำเร็จการศึกษาและปิดโครงการ - การวางแผนจัดการด้านการเงินที่คล่องตัวและประหยัด ๐ คณะผู้ประสานงาน คปก. - การจัดกิจกรรมเสริมคุณภาพ (RGJ Congress, RGJ Seminar Series, RGJ Electronic Network, RGJ Newsletters, Site Visits) ๐อาจารย์ที่ปรึกษาไทย - จัดหาและร่วมมือกับ อ.ที่ปรึกษาต่างประเทศในการดูแลและให้คำปรึกษาในการทำวิจัยของ นศ. - จัดหาสถานที่ทำวิจัยในต่างประเทศให้ นศ. ระหว่างที่นักศึกษาอยู่ในโครงการ ๐ ติดตามความก้าวหน้าในการทำงานของดุษฎีบัณฑิต ๐ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับทุนวิจัยและทุนวิจัยหลัง ป.เอก หลังสำเร็จการศึกษา ระบบบริหารจัดการ :: ระบบบริหารจัดการที่นำไปสู่คุณภาพและความเป็นเลิศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  27. ระบบบริหารจัดการ การรวมพลังจากหลายฝ่ายได้นำไปสู่คุณภาพและความเป็นเลิศ มาตรการคุณภาพ 3 ด้าน : (1) คุณภาพอาจารย์ (2) คุณภาพ นศ. และ (3) การตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารนานาชาติ อาจารย์ที่ปรึกษาไทย : 761 คนใน 20 มหาวิทยาลัย อาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศ : 1,587 คนจากกว่า 700 มหาวิทยาลัยใน 39 ประเทศทั่วโลก การสนับสนุนด้านงบประมาณจากรัฐ การบริหารจัดการของพนักงาน คปก. โครงการ คปก. นศ. คปก. : 1,877 คน การสนับสนุนจากองค์กรต่างประเทศ • กิจกรรมเสริมคุณภาพ : • RGJ Congress • RGJ Seminar Series • RGJ Electronic Network • RGJ Newsletters • Site Visits • ผลผลิต (outputs) : • ดุษฎีบัณฑิต • งานวิจัย • บัณฑิตศึกษาที่เข้มแข็ง • ความร่วมมือระหว่างประเทศ [ สร้างความเข้มแข็งให้ระบบวิจัยและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ] ผลกระทบ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  28. การสำเร็จการศึกษา • จากข้อมูลที่มีอยู่จนถึงปัจจุบัน นศ.คปก. ที่สำเร็จการศึกษาสูงถึง 92% • สัดส่วนของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ป.เอก ของมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกอยู่ที่ 70-80% • สาเหตุที่สำคัญของผู้ไม่สำเร็จการศึกษา • ปัญหาด้านสุขภาพ • ไม่ชอบการวิจัย • ไม่มีความสามารถมากพอ • สอบวิทยานิพนธ์ไม่ผ่าน 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  29. คุณภาพและบทบาทของดุษฎีบัณฑิต คปก. • คปก.ผลิตดุษฎีบัณฑิตไปแล้วเกือบ 800 คน • มีการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิต 100 คนแรก และได้พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจในบัณฑิต คปก. ในระดับที่น่าพอใจ • คปก. กำลังจัดให้มีการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานและบทบาทของดุษฎีบัณฑิต คปก. อย่างเป็นระบบ • เท่าที่ผ่านมาดุษฎีบัณฑิต คปก. เกือบ 800 คนได้เข้าปฏิบัติงานได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจในตำแหน่งต่างๆ คือ อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย ทั้งในภาครัฐ/เอกชน และภายในประเทศ/ ต่างประเทศ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  30. การประเมิน คปก. โดยคณะผู้ประเมินภายนอก • คปก. ได้รับการประเมินจากคณะผู้ประเมินภายนอก 2 ครั้ง : ปี 2545 และ 2547 • ผลการประเมินเมื่อปี 2545 • คปก. ได้สร้างความเข้มแข็งให้กับบัณฑิตศึกษาในระบบมหาวิทยาลัยของไทย • คปก. มีศักยภาพที่จะสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศและเพิ่มจำนวนนักวิจัยในประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรม • ผลการประเมินและข้อเสนอแนะเมื่อปี 2547 • คปก. มีระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพและใช้เป็นต้นแบบได้ • คปก. ควรประเมินความแตกต่างของคุณภาพ นศ. และดุษฎีบัณฑิตของ คปก. และนอก คปก. 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  31. มาตรฐานปริญญาเอกของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) • คปก. กำหนดให้นักศึกษา คปก. ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารนานาชาติ หรือจดสิทธิบัตร 1 เรื่องก่อนสำเร็จการศึกษา และกำหนดมาตรฐานของอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา และลักษณะของหลักสูตรที่ต้องเน้นการวิจัย • มาตรฐานการกำหนดให้ตีพิมพ์ของ คปก. อยูในระดับสูง ในช่วงแรก (2540-2545) แต่ในปัจจุบันอยู่ในระดับ ปานกลางเพราะมีมหาวิทยาลัยหลายแห่งที่กำหนดระดับการตีพิมพ์ที่สูงกว่านี้ • คปก. กำลังพิจารณาเพิ่มมาตรฐานการตีพิมพ์ขึ้นจากเดิม 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

  32. ปัจจัยความสำเร็จในการนำไปสู่คุณภาพของการผลิตดุษฎีบัณฑิตปัจจัยความสำเร็จในการนำไปสู่คุณภาพของการผลิตดุษฎีบัณฑิต • คุณภาพนักศึกษา • คุณภาพอาจารย์ที่ปรึกษา • มีความสามารถและประสบการณ์การวิจัยสูง สนใจงานวิจัยและสามารถให้คำปรึกษาแนะนำ และดูแลนักศึกษา ป.เอกได้ • มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกประเทศ • ระบบการดูแลความก้าวหน้าและการสอบ • กระบวนการคัดเลือกผู้เรียนเข้าเป็น นักศึกษา ป.เอกที่สมบูรณ์ • การสอบวิทยานิพนธ์ (กระบวนการคัดเลือกและบทบาทของกรรมการสอบไล่ภายนอก) • การควบคุมคุณภาพผลงานวิจัย • การตีพิมพ์ในวารสารที่มีคุณภาพ • การจดสิทธิบัตร • การประเมินผลงานวิจัยโดยวิธีอื่นๆ • คุณภาพและมาตรฐานขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมด้านวิชาการ การแข่งขัน และคุณภาพ 29มีค2550_มาตรฐานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

More Related