1 / 58

โรคซึมเศร้า &

โรคซึมเศร้า &. การฆ่าตัวตาย. โรคซึมเศร้า. เอกสารอ้างอิง. โปรแกรมการจัดการโรคซึมเศร้าในโรงพยาบาลชุมชน กรมสุขภาพจิต ก.ย.2549 องค์ความรู้โรคซึมเศร้าผลการทบทวนหลักฐานทางวิชาการ

abena
Télécharger la présentation

โรคซึมเศร้า &

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคซึมเศร้า& การฆ่าตัวตาย

  2. โรคซึมเศร้า

  3. เอกสารอ้างอิง • โปรแกรมการจัดการโรคซึมเศร้าในโรงพยาบาลชุมชน กรมสุขภาพจิต ก.ย.2549 • องค์ความรู้โรคซึมเศร้าผลการทบทวนหลักฐานทางวิชาการ • Management of depression in primary and secondary care developed by the National Collaborating Centre for Mental Health issue date December 2004

  4. โรคซึมเศร้านั้นสำคัญยังไง ?

  5. ความสำคัญ • มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • จากการศึกษาร่วมกันระหว่างองค์การอนามัยโลก,Harvard School of Public Healthและธนาคารโลก ได้วัดความสูญเสียของจำนวนปีที่ดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาพดี พบว่า ปี ค.ศ.1990 โรคซึมเศร้า เป็นโรคที่เป็นภาระอันดับ 4 ปี ค.ศ.2020 โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เป็นภาระอันดับ2

  6. ความสำคัญ • ในไทย ปี พ.ศ.2542 การศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บโดยเปรียบเทียบความสูญเสียจากการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บ 135 ประเภท พบว่า • โรคซึมเศร้าเป็นสาเหตุสำคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability adjusted life years,DALYs) เมื่อวัดจากจำนวนปีที่สูญเสียไปเนื่องจากความพิการและความเจ็บป่วย พบว่า โรคซึมเศร้าก่อความสูญเสีย เป็นอันดับที่ 1 ในหญิงไทย เป็นอันดับที่ 3 ในชายไทย

  7. ความชุกของโรคซึมเศร้าจำแนกตามเพศและพื้นที่ความชุกของโรคซึมเศร้าจำแนกตามเพศและพื้นที่

  8. แล้วเกี่ยวอะไรกับเราเหรอ?เป็นโรคทางจิตเวชนี่นาแล้วเกี่ยวอะไรกับเราเหรอ?เป็นโรคทางจิตเวชนี่นา

  9. จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก • การสำรวจระดับชาติของประเทศไทย พ.ศ.2546 พบว่า ประชากรไทย ร้อยละ 3.2 เป็นโรคซึมเศร้า , ร้อยละ 1.18 เป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรัง และผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมากที่สุด • พบว่า ร้อยละ 10.4ของผู้ที่ไปรับบริการที่สถานพยาบาลปฐมภูมิ ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า • การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในสถานบริการปฐมภูมิ มีส่วนช่วยลดอคติของผู้ป่วยเหล่านี้

  10. ถ้าอย่างนั้นมารู้จักโรคซึมเศร้ากันดีไหมคะ?ถ้าอย่างนั้นมารู้จักโรคซึมเศร้ากันดีไหมคะ?

  11. โรคซึมเศร้า คืออะไร? • เป็นโรคทางจิตเวชที่พบได้ในประชากรทั่วไป • เกิดจากการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป เช่นการเปลี่ยนแปลงระบบสารเคมี(neurotransmitters)ในสมอง • อารมณ์ซึมเศร้าเกิดขึ้นเป็นอยู่นานโดยไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น หรือว่าเป็นรุนแรง จนการทำหน้าที่ การทำงานและกิจวัตรประจำวันต่างๆแย่ลง

  12. A conceptual approach to depression จิดสังคม, สิ่งแวดล้อม, โรคทางกาย ปัจจัยกระตุ้น ปัจจัยชักนำ ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยป้องกัน ปัจจัยด้านชีวเคมี และกายวิภาคของสมอง เพศหญิง มองโลกในแง่ลบ Avoidant coping style Social disadvantage (ยากจน, ไร้งาน) Family discord Child abuse การตั้งครรภ์ พ่อแม่ป่วย/ขาดทักษะ • - ความคิดทางบวก • - สังคมช่วยเหลือดี • - ไม่มีเหตุกระตุ้น • ประสบความสำเร็จ • ในการศึกษา การงาน • - ครอบครัวอบอุ่น • - ได้รับการรักษา • โรคจิตเวชที่มี • - บุคลิกภาพได้รับ • การแก้ไข • - มีทักษะชีวิตที่ดี การสูญเสียและความอับอาย พันธุกรรม ชีวเคมีในสมอง เปลี่ยนแปลง ซึมเศร้า บุคลิกภาพ : neuroticism ยาหรือสารกระตุ้น โรคทางจิตเวช -Substance use disorder -conduct disorder ธรณินทร์ กองสุข 17 ม.ค. 2549

  13. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าMajor depressive episode • มีอาการต่อไปนี้ มากกว่าหรือเท่ากับ 5 ใน 9 อาการ,ร่วมกันนานกว่า 2 สัปดาห์ โดยมีอย่างน้อย 1 ข้อของ (1) อารมณ์ซึมเศร้า (2) เบื่อหน่ายไม่มีความสุข (1) มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวันแทบทุกวัน (2) ความสนใจหรือความสุขใจในกิจกรรมต่างๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน (3) น้ำหนักลดหรือเพิ่มอย่างมาก หรือเบื่ออาหารหรือกินมากขึ้นแทบทุกวัน

  14. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า Major depressive episode A (4) นอนไม่หลับหรือหลับมากเกินไปเกือบทุกวัน (5) กระสับกระส่ายหรือเคลื่อนไหวเชื่องช้าแทบทุกวัน (6) อ่อนเพลียหรือไร้เรี่ยวแรงแทบทุกวัน (7) รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึกผิดอย่างไม่เหมาะสมหรือมากเกิน ควรแทบทุกวัน (8) สมาธิหรือความสามารถในการคิดอ่านลดลงหรือตัดสินใจ อะไรไม่ได้ แทบทุกวัน (9) คิดเรื่องการตายอยู่เรื่อย,อยากตาย,พยายามหรือมีแผนฆ่าตัวตาย

  15. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า Major depressive episode B อาการไม่เข้าเกณฑ์ mixed episode(Bipolar) C อาการก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างชัดเจนทั้งในด้านกิจกรรมทางสังคม การงานหรือด้านอื่นๆ การทำหน้าที่บกพร่องลง D อาการไม่ได้เป็นผลโดยตรงจากสารเช่น ยา,สารเสพติด และไม่ได้เป็นจากความเจ็บป่วยทางกาย E อาการไม่ได้เข้ากับ bereavement ได้ดีกว่า ได้แก่มีอาการเกิน 2 เดือนหลังสูญเสียผู้เป็นที่รัก หรือหน้าที่บกพร่องอย่างมาก หมกมุ่นว่าตนไร้ค่าอย่างผิดปกติ คิดฆ่าตัวตาย มีอาการโรคจิต หรือการเคลื่อนไหวเชื่องช้าอย่างมาก

  16. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าเรื้อรังDysthymic Disorder A มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวัน มีวันที่เป็นมากกว่าวันที่ปกติ ทั้งจากการบอกเล่าของผู้ป่วยและผู้อื่นสังเกต นานอย่างน้อย 2 ปี B ในช่วงที่ซึมเศร้า มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 อาการขึ้นไป (1) เบื่ออาหารหรือกินจุ (2) นอนไม่หลับหรือหลับมากไป (3) เรี่ยวแรงน้อยหรืออ่อนเพลีย (4) ไม่ค่อยมั่นใจในตนเอง (5) สมาธิไม่ดีหรือตัดสินใจยาก (6) รู้สึกหมดหวัง C ในช่วง 2 ปีที่ผิดปกติ มีช่วงที่ไม่มีอาการ AหรือB ไม่เกิน 2 เดือน ในแต่ละครั้ง

  17. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าเรื้อรังDysthymic Disorder D ไม่มี Major depressive episode ในช่วง 2 ปีแรก ของความผิดปกติ E ไม่เคยมี Manic , Mixed , Hypomanic episode F ไม่ได้เกิดในช่วงของอาการโรคจิตเรื้อรัง G ไม่ได้เป็นผลโดยตรงจากยาหรือสารเสพติด หรือจากความเจ็บป่วย ทางกาย H อาการก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างชัดเจนทั้งในด้านกิจกรรมทางสังคม การงานหรือด้านอื่นๆ การทำหน้าที่บกพร่องลง

  18. การถามประวัติ • ประวัติซึมเศร้าในอดีต • ประวัติโรคจิตเวชและการรักษา • ประวัติการพยายามทำร้ายตัวเอง • ประวัติโรคซึมเศร้า หรือโรคจิตเวชอื่น ในครอบครัว • เหตุการณ์รุนแรงในชีวิต • สภาพสังคมสิ่งแวดล้อม • ประวัติการใช้สารเสพติดและสุรา • โรคทางกายและยาที่ใช้ในปัจจุบัน

  19. การวินิจฉัยแยกโรคDifferential Diagnosis • อาการซึมเศร้าที่มีสาเหตุจาก โรคทางกาย: ฮอร์โมนไทรอยด์ผิดปกติ, stroke จากยา: methyldopa,reserpine,clonidine,β-blockers,digoxin,diuretics,corticosteroid,anabolic steroid,ยาคุมกำเนิด สารเสพติด: alcohol,opioid,amphetamine

  20. การวินิจฉัยแยกโรคDifferential Diagnosis 2.Bipolar disorder,major depressive episode • Delirium due to general medical condition • Dementia • Adjustment disorder

  21. มึนหรือยัง? ทำไมต้องจำเยอะอย่างนี้? จะจำไหวเหรอ?

  22. ถ้ามีแบบคัดกรองง่ายๆ สนใจไหม?

  23. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า Major depressive episode • มีอาการต่อไปนี้ มากกว่าหรือเท่ากับ 5 ใน 9 อาการ,ร่วมกันนานกว่า 2 สัปดาห์ โดยมีอย่างน้อย 1 ข้อของ (1) อารมณ์ซึมเศร้า (2) เบื่อหน่ายไม่มีความสุข (1) มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวันแทบทุกวัน (2) ความสนใจหรือความสุขใจในกิจกรรมต่างๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน (3) น้ำหนักลดหรือเพิ่มอย่างมาก หรือเบื่ออาหารหรือกินมากขึ้นแทบทุกวัน

  24. การคัดกรองด้วย 2 คำถามTwo Question Screening • ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา คุณรู้สึกไม่สบายใจ ซึมเศร้าหรือท้อแท้หรือไม่ • ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา คุณรู้สึกเบื่อ ทำอะไรๆก็ไม่เพลิดเพลิน หรือไม่

  25. ง่ายไหม !!!!!! ใครไม่มี 2 ข้อนี้เลย ก็แสดงความยินดีกับเขาได้ว่า ขณะนี้คุณยังไม่มีอาการของโรคซึมเศร้า ( แต่ต่อไปไม่รู้ )

  26. แล้วถ้าเกิดมีข้อใดข้อหนึ่งล่ะ จะทำไงต่อ? ไม่ยาก แค่หยิบ PHQ-9 ขึ้นมาแล้วถามต่อ

  27. Patient Health Questionnaire: PHQ-9

  28. ถ้าท่านตอบว่ามีอาการไม่ว่าในข้อใดก็ตาม อาการนั้นๆ ทำให้ท่านมีปัญหาในการทำงาน การดูแลสิ่งต่างๆในบ้าน หรือการเข้ากับผู้คนหรือไม่ • ไม่มีปัญหาเลย • มีปัญหาบ้าง • มีปัญหามาก • มีปัญหามากที่สุด

  29. ซึ่งก็มาจาก

  30. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า Major depressive episode นี่เอง • มีอาการต่อไปนี้ มากกว่าหรือเท่ากับ 5 ใน 9 อาการ,ร่วมกันนานกว่า 2 สัปดาห์ โดยมีอย่างน้อย 1 ข้อของ (1) อารมณ์ซึมเศร้า (2) เบื่อหน่ายไม่มีความสุข (1) มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวันแทบทุกวัน (2) ความสนใจหรือความสุขใจในกิจกรรมต่างๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน (3) น้ำหนักลดหรือเพิ่มอย่างมาก หรือเบื่ออาหารหรือกินมากขึ้นแทบทุกวัน

  31. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า Major depressive episode (4) นอนไม่หลับหรือหลับมากเกินไปเกือบทุกวัน (5) กระสับกระส่ายหรือเคลื่อนไหวเชื่องช้าแทบทุกวัน (6) อ่อนเพลียหรือไร้เรี่ยวแรงแทบทุกวัน (7) รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึกผิดอย่างไม่เหมาะสมหรือมากเกิน ควรแทบทุกวัน (8) สมาธิหรือความสามารถในการคิดอ่านลดลงหรือตัดสินใจ อะไรไม่ได้ แทบทุกวัน (9) คิดเรื่องการตายอยู่เรื่อย,อยากตาย,พยายามหรือมีแผนฆ่าตัวตาย

  32. ซึ่งจากคะแนน PHQ-9 เรายังสามารถแบ่งระยะของโรคเพื่อวางแผนการรักษาได้ เจ๋งมั้ย ?

  33. ถ้ามันง่ายอย่างนี้ ควรเอาไปลองถามใครบ้างนะ?

  34. กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ • ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการซึมเศร้าชัดเจน • ผู้ป่วยที่มีอาการทางกายเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ข้อเสื่อม ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง • ผู้ป่วยสูงอายุ • ผู้ป่วยตั้งครรภ์หรือหลังคลอด • ผู้มีปัญหาสุรา ยาเสพติด หรือผู้ป่วยจิตเวช

  35. การตัดสินใจให้การรักษาการตัดสินใจให้การรักษา

  36. 1. แจ้งผลการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยเบื้องต้น “การที่แพทย์เวชปฏิบัติเป็นผู้แจ้งผลการตรวจแก่ผู้ป่วยโดยตรง ว่ามีโรคซึมเศร้าหรือไม่ และมีความรุนแรงระดับใด จะทำให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อมั่นและเข้าใจถึงความสำคัญของโรคซึมเศร้าที่มีต่อโรคทางกายที่กำลังเป็นปัญหาอยู่” ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นโดย PHQ-9 ควรได้รับการยืนยัน Dx โดยแพทย์ ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรค

  37. 2. เลือกวิธีการรักษา

  38. การรักษาด้วยยาในโรงพยาบาลโดยแพทย์เวชปฏิบัติการรักษาด้วยยาในโรงพยาบาลโดยแพทย์เวชปฏิบัติ • ยาต้านซึมเศร้า ขนาดที่เหมาะสมในการรักษา Floxetine ขนาดเม็ดละ 20 mg [dose 20 – 60 mg/day] Amitriptyline ขนาดเม็ดละ 10,25 mg [dose 75 – 150 mg/day]

  39. แล้วจะเลือกใช้ตัวไหนดีล่ะ?มันต่างกันยังไงเหรอ?แล้วจะเลือกใช้ตัวไหนดีล่ะ?มันต่างกันยังไงเหรอ?

  40. Fluoxetine ถ้ากินเกินขนาดโอกาสตายน้อย ปรับง่าย หยุดทันทีได้ มีโอกาสมีผลกระทบกับยาได้หลายชนิด Amitriptyline กินเกินขนาดมีผลต่อหัวใจตายได้ ต้องค่อยๆtitrate เพิ่ม- ลด กินแล้วง่วงดี หิวเก่ง Floxetine VS Amitriptyline

  41. Fluoxetine ผลข้างเคียงต่อระบบทางเดินอาหารมักเป็นชั่วคราว แต่ระยะยาวบางรายมีผลเรื่องทางเพศ หยุดทันทีไม่ค่อย withdraw Amitriptyline คนสูงอายุมักทนผลข้างเคียงไม่ค่อยได้โดยเฉพาะในขนาดยาที่สูงขึ้น(คอแห้งปากแห้งท้องผูกปัสสาวะลำบากตาพร่ามัวและผลต่อหัวใจ) หยุดทันทีมี withdraw Fluoxetine VS Amitriptyline

  42. ฉะนั้น แนะนำ เลือกใช้ Floxetineก่อน • ยาดี ปลอดภัย ราคาถูก ควรมีติดไว้ทุกโรงพยาบาล ราคาเม็ดละ 0.60 - 2 บาท • เริ่มให้ 1 เม็ด ตอนเช้า หลังอาหาร ( ผู้สูงอายุอาจเริ่ม 1/2 เม็ด) • รอดูผล : - ผลข้างเคียงทางGI,ปวดหัว,กระสับกระส่าย มักดีขึ้นในช่วง 1 – 2 สัปดาห์แรก ส่วนใหญ่มักกินแล้วไม่ง่วง หากกินเช้าง่วง ให้ย้ายไปกินตอนเย็นหรือก่อนนอน

  43. ปรับยายังไง - ผลต่ออาการซึมเศร้า รอดู 4 – 8 สัปดาห์ หากดีขึ้นจนเป็นปกติให้ยาขนาดเดิมต่อไป หากไม่ดีขึ้นหรือดีขึ้นเพียงเล็กน้อย  เพิ่มขนาดยาทีละ 20 มก./วัน ทุก 4 – 8 สัปดาห์ สูงสุด 60 มก./วัน (อาจแบ่งให้เป็นเช้า-เที่ยง)

  44. ยาอื่นล่ะ ต้องให้มั้ย • ยาคลายวิตกกังวลกลุ่มBenzodiazepine ไม่ได้ใช้เพื่อรักษาโรคอารมณ์ซึมเศร้า แต่ช่วยบรรเทาอาการขณะที่ยาต้านซึมเศร้ายังไม่ออกฤทธิ์เต็มที่ เช่น ลดความวิตกกังวล หรือให้พักหลับได้

  45. Benzodiazepine ตัวอย่าง Diazepam เม็ดละ 2 , 5 มก. Lorazepam เม็ดละ 0.5,1,2 มก. Lorazepam 1 mg ~ Diazepam 5 mg อาจแบ่งให้ ช่วงเช้า-เย็น ขนาดต่ำๆ เพื่อลดอาการวิตกกังวล ก่อนนอน ปรับตามผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อให้นอนหลับ แต่ควรให้ระยะสั้นเท่านั้น ไม่เกิน 12 สัปดาห์ เมื่ออาการดีจึงค่อยๆลดทีละ 10-25% จนหมด

  46. หากดีแล้ว จะต้องกินยาไปนานแค่ไหน? • ผู้ที่เป็นครั้งแรก ให้ยาขนาดเดิมอย่างน้อย 4 – 9 เดือน หลังอาการสงบ เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ • ผู้ที่ป่วยตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไปในช่วง 5 ปี ให้ยาต่อเนื่องอย่างน้อย 9 เดือนขึ้นไป แนะนำกินยาต่อเนื่องระยะยาวเนื่องจากมีโอกาสเสี่ยงในการป่วยซ้ำ

  47. หากได้ Fluoxetine แล้วยังอาการไม่ดีล่ะ ควรทำยังไง ?

  48. ตรวจสอบ • ตรวจสอบการกินยาว่าครบถ้วน ขนาดถูกต้องหรือไม่ ในระยะเวลาที่เหมาะสม • มีปัจจัยทางจิตใจและสังคมที่เป็นตัวเสริมให้ยังคงมีอาการต่อเนื่องหรือไม่ • มีการใช้สารเสพติดร่วมด้วยหรือไม่ • ทบทวนการวินิจฉัย

  49. จากนั้น • เปลี่ยนชนิดยาต้านอารมณ์ซึมเศร้าที่กลุ่มต่างจากเดิม • ค่อย ลด Fluoxetineลงก่อนทีละ 20 มก./วัน ทุก 1 สัปดาห์ จนหมด • จากนั้นจึงเริ่มให้ยาชนิดใหม่ในขนาดต่ำ

More Related