1 / 41

Software Technology

Software Technology. download at http://bcd.boxchart.com. เนื้อหา. บทนำ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดซื้อซอฟต์แวร์ กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์. ซอฟต์แวร์คืออะไร ?.

Télécharger la présentation

Software Technology

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Software Technology download at http://bcd.boxchart.com Seminar in Business Computer

  2. เนื้อหา • บทนำ • ซอฟต์แวร์ระบบ • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ • การพัฒนาซอฟต์แวร์ • การจัดซื้อซอฟต์แวร์ • กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ Seminar in Business Computer

  3. ซอฟต์แวร์คืออะไร? • ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่บอกให้ส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ทำงาน (Telling the machine what to do) • ซอฟต์แวร์ หมายความรวมไปถึงการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น Modem, CD ROM, Drive เป็นต้น • ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทำงานของมันได้ ซึ่งต่างกับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ Seminar in Business Computer

  4. ซอฟต์แวร์คืออะไร? • ซอฟต์แวร์เป็นศัพท์ที่มีความหมายกว้างขวางมาก • บางครั้งอาจรวมถึง ผลลัพธ์ต่างๆ เช่น ผลการพิมพ์ที่ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารการพัฒนาซอฟต์แวร์ ตลอดจนคู่มือการใช้ ในการสั่งงานใดๆ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการนั้นต้องอาศัยซอฟต์แวร์เป็นตัวเชื่อมระหว่างคน หรือผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ Seminar in Business Computer

  5. Software ความหมายของซอฟต์แวร์ • เป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำอะไรไม่ได้เลยถ้าขาดชุดคำสั่ง เพราะคอมพิวเตอร์เป็นเพียงอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งที่จะไม่มีการตัดสินใจ ไม่มีการคำนวณ หรือจัดการงานใด ๆ Seminar in Business Computer

  6. วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์ • ยุคแรก (ค.ศ.1950-1965) • เสียบสายไฟฟ้าลงในแผงควบคุม • บันทึกคำสั่งลงในเทปกระดาษและบัตรเจาะรู • ใช้คำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง • ไม่เน้นเรื่องหลักเกณฑ์และเทคนิคการเขียนโปรแกรม • เริ่มคิดจัดทำภาษาสัญญลักษณ์และภาษาชั้นสูง • ต้นยุคเป็น Batch processing และพัฒนาไปเป็น Online processing Seminar in Business Computer

  7. Batch / Online Processing • Batch processing • Transactions accumulated and stored until processing • On-line processing • Transactions are entered directly into computer and processed immediately Seminar in Business Computer

  8. Batch / Online Processing Seminar in Business Computer

  9. วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์ • ยุคที่สอง (ค.ศ.1960-1975) • มีการพัฒนาการทำงานแบบ Online อย่างกว้างขวาง • ผู้ขายคอมพิวเตอร์เริ่มเปลี่ยนจากการให้ซอฟต์แวร์ฟรีมาเป็นการเช่า มีการลงทุนตั้งบริษัทซอฟต์แวร์เพิ่มมากขึ้น • เริ่มมองปัญหาการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ไม่เป็นระบบและไม่มีหลักการที่ดีมากขึ้น • มีงานพัฒนาซอฟต์แวร์ที่คั่งค้างไม่ทันกับความต้องการของผู้ใช้ Seminar in Business Computer

  10. วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์ • ยุคที่สาม (ค.ศ.1975-1985) • ฮาร์ดแวร์เป็นระบบเครือข่าย การประมวลผลแบบกระจาย • มีการพัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์ • มีการเผยแพร่คิดหลักการโปรแกรมและเทคนิคโครงสร้าง • ไมโครคอมพิวเตอร์ทำให้ขายซอฟต์แวร์ได้กว้างขวาง • งบประมาณทางด้านซอฟต์แวร์เพิ่มมากขึ้น Seminar in Business Computer

  11. Client / Server Computing Seminar in Business Computer

  12. วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์ • ยุคที่สี่ (ค.ศ.1985-ปัจจุบัน) • เกิดแนวคิดเรื่องภาษายุคที่ 4 (4th Generation Language) • พัฒนาโปรแกรม Editor ให้ใช้แก้ไขคำสั่งในโปรแกรมได้ดีขึ้น • Logic Programming เช่น Prolog • Object-oriented Programming เช่น Smalltalk • Functional Programming เช่น Lisp Seminar in Business Computer

  13. Applications Software ผู้ใช้ (User) System Software Hardware ประเภทซอฟต์แวร์ • ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) Seminar in Business Computer

  14. Seminar in Business Computer

  15. โปรแกรมระบบ (System Software) • ชุดคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูปโดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมา พร้อมแล้วจากโรงงานผลิต เพื่อการปฏิบัติควบคุม และมีความยืดหยุ่นในการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหน้าที่ที่สำคัญ • ควบคุมคอมพิวเตอร์ • เป็นตัวกลางการทำงานระหว่างคอมพิวเตอร์และโปรแกรมประยุกต์ Seminar in Business Computer

  16. System Software แบบต่าง ๆ • System Management Programs • ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DataBase Management System) • System Development Programs • Programming Language Translators • Computer Aided Software Engineering • System Support Programs • System Utilities, Performance Monitor and Security Monitor Seminar in Business Computer

  17. ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • Supervisory Programs หรือ Monitors Programs นับว่าเป็นซอฟต์แวร์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างซอฟต์แวร์กับฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการอยู่เบื้องหลังการทำงานของโปรแกรมระบบงานต่างๆ ให้ติดต่อกับฮาร์ดแวร์ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ • ควบคุมและดูแลตรวจตราทุกๆ การทำงานของฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ นับตั้งแต่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ จนกระทั่งปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ Seminar in Business Computer

  18. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ • กำหนดลำดับการทำงานแต่ละงาน • ควบคุมการทำงาน แบบ Multi-programming • ควบคุมการรับข้อมูล และแสดงผลลัพธ์โดยผ่านอุปกรณ์ต่างๆ • ควบคุมการโยกย้ายข้อมูล • จัดสรรที่สำหรับเก็บบันทึกข้อมูลของหน่วยความจำหลัก • จัดสรรเวลาในหน่วย CPU • ทำหน้าที่เป็นซอฟต์แวร์ ที่ควบคุมซอฟต์แวร์อื่นๆ Seminar in Business Computer

  19. Single-program Execute and Multiprograming Seminar in Business Computer

  20. Multitasking and Virtual Storage Multitasking • Multiprogramming capability of single-user operating systems Virtual Storage • Handles programs more efficiently by dividing the programs into small fixed or variable length Seminar in Business Computer

  21. Virtual Storage Seminar in Business Computer

  22. ระบบปฏิบัติการ • ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (user interface) เป็นส่วนที่อำนวยความสะดวกในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ มี 2 แบบ • Text-based หรือ Command Line Interface (CLI) โดยใช้พิมพ์ข้อความเป็นคำสั่ง • Graphic-based user interface (GUI) • ใช้เมาส์ • มีรายการคำสั่ง (menu command) • มีหน้าต่าง ไอคอน และ เครื่องมือทางกราฟฟิกอื่น ๆ • ตัวอย่าง MS-DOS, Windows, OS/2, UNIX etc. Seminar in Business Computer

  23. Seminar in Business Computer

  24. ภาษาคอมพิวเตอร์ • เราใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาอื่นๆ อีกมากเพื่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ ภาษามนุษย์ที่ใช้กันก็มีกฎเกณฑ์ของภาษามีโครงสร้างที่แน่นอน ผู้คิดค้นคอมพิวเตอร์ได้นำความรู้ด้านภาษาที่มนุษย์ใช้มาคิดค้นใช้กับคอมพิวเตอร์ จึงเกิดภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) ซึ่งถือว่าเป็นภาษาประดิษฐ์ (Artificial Language) ที่รวบรวมคำสั่งเฉพาะสำหรับการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ Seminar in Business Computer

  25. ภาษาเครื่องและล่ามแปลภาษาภาษาเครื่องและล่ามแปลภาษา • ภาษาเครื่อง (Machine Language) คือภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ โดยมีโครงสร้าง พื้นฐาน เป็นเลขฐานสอง • แต่การสื่อสารระหว่างมนุษย์และเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงจึงเป็นไปได้ด้วยความยากลำบาก • มนุษย์จึงพยายามสร้างเครื่องมือที่จะมาช่วยในการแปลภาษาที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย • เครื่องมือดังกล่าวเรียกว่าล่ามแปลภาษา (Language Translator) Seminar in Business Computer

  26. ล่ามแปลภาษา (Language Translator) • คำสั่งที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือเขียนขึ้นมา จะเรียกว่า (Source Code) • เมื่อนำ Source Code มาผ่านกระบวนการแปลภาษาของล่ามแปลภาษา ก็จะได้เป็น Object Code • และผ่านขั้นตอนอีกเล็กน้อยก็จะได้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) Source Code Lang Translator Object Code Seminar in Business Computer

  27. การทำงาน/ประเภทของล่ามแปลภาษาการทำงาน/ประเภทของล่ามแปลภาษา Source Code Lang Translator Object Code Link Compiler Interpreter .EXE .COM ใช้ Runtime ไม่ใช้ Runtime Seminar in Business Computer

  28. ภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษารุ่นที่ 1 • ภาษาเครื่อง (Machine Language) ใช้อักขระ 0 และ 1 • ภาษาสัญลักษณ์และภาษาแอสแซมลี (Symbolic and Assembly) • ผู้พัฒนาโปรแกรมต้องทราบขั้นตอนการทำงานภายในตัวประมวลผลโดยละเอียด • ภาษาที่ใช้มีมากเท่ากับจำนวนตัวประมวลผลที่มีชุดของคำสั่ง (Instruction set) Seminar in Business Computer

  29. ภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษารุ่นที่ 2 • การพัฒนาภาษาเขียนโปรแกรม (Programming Language) • จอห์น เบคัส (1954) ภาษาFORTRAN • CODASYL (1962) ภาษาCOBOL • ซูริค (1958-60) ภาษาALGOL • จอห์น เคมเมนี และ ธอมัส เดิรตส์ ม.ดาร์ทเมิร์ท ภาษาBASIC Seminar in Business Computer

  30. ภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษารุ่นที่ 3 • เป็นการปรับปรุงโครงสร้างขีดความสามารถของภาษารุ่นที่ 2 • ภาษาระดับสูงใช้งานทั่วไป มีต้นแบบมาจาก ALGOL ได้แก่ PL/I, Pascal, Modula-2, C, Ada ใช้กว้างขวางในงานทางวิทยาศาสตร์ ธุรกิจ และระบบงาน • ภาษาสำหรับงานพิเศษ มีรูปแบบแปลกเหมาะกับงานเฉพาะเรื่อง ได้แก่ Lisp, Prolog, Smalltalk, APL, FORTH • ภาษารุ่นที่ 1-3 ผู้ใช้ต้องทราบลำดับขั้นตอนในการทำงาน (Procedural language) Seminar in Business Computer

  31. ภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษารุ่นที่ 4 • ภาษารุ่นที่ 4 เป็นการระบุผลลัพธ์ที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ได้ระบุขั้นตอน (Non-procedural language) • ภาษาสอบถาม (Query Language) ออกแบบสำหรับใช้ในการสืบค้นข้อมูล เช่น SQL (Structure Query Language) โดย อี. เอฟ. คอดด์ • ตัวสร้างโปรแกรม (Program Generator) ใช้สร้างโปรแกรมภาษาเป็นภาษารุ่นที่ 3 จากคำสั่งง่าย ๆ มักทำงานร่วมกับโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลและมีส่วนที่กำหนดลักษณะจอภาพด้วย Seminar in Business Computer

  32. การเขียนคำสั่งแบบต่าง ๆ • ถ้าพิจารณาลักษณะการสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยการเขียนคำสั่งเป็นหลัก ก็อาจจำแนกการสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ออกเป็นกลุ่มๆ ดังนี้ • คอมไพเลอร์ (Compiler) • SQL • JCL, script, Batch Command • MACRO Language Seminar in Business Computer

  33. CASE • Computer Aided Software Engineering เครื่องมือที่เป็นทั้งชนิดอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติที่ช่วยสนับสนุนวิธีการต่าง ๆ ทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ • โปรแกรมบรรณาธิการ (Editor Program) • โปรแกรมสร้างแผนภาพและผังงาน • พจนานุกรมข้อมูล เป็นต้น • เครื่องมือพวกนี้นำมารวมกันทำงานเป็นระบบได้ Seminar in Business Computer

  34. Database Management System • ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการข้อมูล ระเบียนข้อมูล และแฟ้มข้อมูลต่าง ๆในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกในการค้นหาข้อมูล • การจัดการระเบียนข้อมูล เชื่อมโยงระเบียนข้อมูล • การคุ้มครอง ป้องกันระเบียนข้อมูล • การจัดทำดัชนีของระเบียน Seminar in Business Computer

  35. Application Software • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ อาจแบ่งได้เป็นซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป และซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll Program) ของแต่ละบริษัท การคำนวณดอกเบี้ยเงินฝากหรือเงินกู้สำหรับงานธนาคาร (Interest Computation) การทำสินค้าคงคลัง (Stock) Seminar in Business Computer

  36. ประเภทของ Application Software • เป็นโปรแกรมที่ใช้ทำงานเฉพาะงานใดงานหนึ่ง • แบบทั่วไป (General purpose application programs) • แบบเฉพาะกิจ (Special purpose application programs) Seminar in Business Computer

  37. Generalized Application Software • นำไปใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางกับงานชนิดต่าง ๆ • Word processor (MS word Cuword etc.) • Spreadsheet (MS excel Lotus etc.) • Data manager (dBASE MS Access SPSS) • Graphics and presentation (Director MS power point Paint) • Communications (Dialup Networking Telnet ) Seminar in Business Computer

  38. Specialized Application Software • ใช้ทำงานเฉพาะอย่าง ไม่สามารถเปลี่ยนหรือตั้งโปรแกรมให้ทำงานอย่างอื่น ได้ • Business-oriented ซอฟต์แวร์ทางบัญชี การเงิน หรือ การลงทุน • Engineering and Scientific เช่น Computer Aided Design • Education เช่น Computer Assisted Instruction • Entertainment เช่น โปรแกรมเกมส์ต่าง ๆ Seminar in Business Computer

  39. End-user Computing Software • ซอฟต์แวร์เพิ่มผลผลิตของบุคคล (Personal Productivity S/W) • ซอฟต์แวร์เพิ่มผลผลิตของกลุ่มงาน (Workgroup Productivity S/W) • ซอฟต์แวร์เพิ่มผลผลิตขององค์กร (Enterprise Productivity S/W) Seminar in Business Computer

  40. Seminar in Business Computer

  41. Word Processing Vs Desktop Publishing Seminar in Business Computer

More Related