1 / 55

นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่ ( Whole Value Chain Network). นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์. หัวข้อ บรรยาย. 1 . สรุป องค์ความรู้นำสู่การปฏิบัติ. 2 . แนวทางปฏิบัติตามนโยบาย Whole Value Chain Network.

admon
Télécharger la présentation

นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่ • (Whole Value Chain Network) นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

  2. หัวข้อ บรรยาย 1. สรุปองค์ความรู้นำสู่การปฏิบัติ 2. แนวทางปฏิบัติตามนโยบาย Whole Value Chain Network

  3. 1.สรุปองค์ความรู้นำสู่การปฏิบัติ1.สรุปองค์ความรู้นำสู่การปฏิบัติ (1) แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” (2) การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (3) การขับเคลื่อน Whole ValueChain Network ด้วย Logistics และ Supply Chain

  4. (1) แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง”

  5. นโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” 1. Whole Value Chain Network “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” เครือข่ายเข้มข้นมากขึ้น เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่เครือข่าย 2. คุ้มครองระบบสหกรณ์ 3. นโยบายและแนวทางในการปฏิบัติงานของอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ (ดร.จุมพล สงวนสิน วันที่ 4 ธันวาคม 2556)

  6. จากนโยบายสู่แนวทางปฏิบัติ 1. ความชัดเจนและเข้าใจในเรื่อง Whole Value Chain Network เครือข่ายเข้มข้น แยกเป็น 3 ระดับ 1. การสร้างเครือข่าย 2. การพัฒนาเครือข่าย 3. การเชื่อมโยงเครือข่าย 2. งบประมาณและแผนงานการส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายที่มีอยู่ แผนปฏิบัติงาน ปี 2557 ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้อนุมัติให้ดำเนินการแล้ว 4 แผนงาน เกี่ยวข้องกับสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ และสำนักงานสหกรณ์จังหวัด (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ และ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์) 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงาน 3 เครือข่ายเข้มข้น จำนวน 9 โครงการ/กิจกรรม และแผนงาน4 Whole value chain จำนวน 12 โครงการ/กิจกรรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสามารถปรับแผนปฏิบัติได้ แต่ต้องไม่กระทบกับเป้าหมายและตัวชี้วัดตามแผน

  7. กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network

  8. กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network

  9. กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network

  10. 3. เงินสนับสนุน กรมฯได้จัดเตรียมงบประมาณ (เงินกู้ กพส.) สำหรับสหกรณ์ที่จัดทำโครงการเพิ่มมูลค่าการเชื่อมโยงเครือข่ายตลอดห่วงโซ่การผลิต อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1 จำนวน 300 ล้านบาท • การติดตามผล • จังหวัดรายงานผลส่วนกลางตามแบบรายงานตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ กษ1109/14168 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2556 • ผู้ตรวจราชการแต่ละเขต รายงานผลการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคให้ส่วนกลาง • เตรียมแผนงาน/โครงการเสนอในปี 2558 • การเชื่อมโยงเครือข่ายเข้มข้นสหกรณ์เข้มแข็ง ให้ทุกจังหวัดดำเนินการ • ดำเนินการตามแผน 1 และแผน 2 • ดำเนินการตามหนังสือสั่งการ การขับเคลื่อนให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่การผลิต (Whole ValueChain Network)

  11. (2) การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า

  12. การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า 1. การวิเคราะห์กิจกรรม : กิจกรรมที่จะดำเนินการส่งมอบสินค้า หรือบริการ 2. การวิเคราะห์คุณค่า : การวิเคราะห์คุณค่าของแต่ละกิจกรรมที่คิดว่ามีความจำเป็น? อะไรที่จำเป็นจะต้องทำเพิ่ม? อะไรคือคุณค่าสูงสุดที่ลูกค้าต้องการ? 3. การประเมินผลและการวางแผน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน

  13. ห่วงโซ่คุณค่า (ดัดแปลงจาก Michael E. Porter)

  14. กิจกรรมหลัก (Primary Activities) กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities)

  15. กิจกรรมหลัก (Primary Activities) SWOT กิจกรรม Inbound Operation Outbound Marketing &Sale Service

  16. กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) SWOT กิจกรรม บัญชี/การเงิน/กฎหมาย การสรรหา/การฝึกอบรม/ประเมินผล/จ่ายผลตอบแทน องค์ความรู้/อุปกรณ์/ระบบเทคโนโลยี คุณสมบัติ/เวลา/ปริมาณ/สถานที่/ราคา

  17. (3) การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วย Logistics และ Supply Chain

  18. ระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน Logistic (Log) กิจกรรมของผู้ผลิต (Suppliers) ในการจัดการสินค้าจนถึงผู้บริโภคขั้นสุดท้ายโดยประหยัดต้นทุน ตรงเวลา และความเชื่อถือ Supply Chain(S) จำนวนผู้ผลิตทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าจนถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย Value Chain(VC) มูลค่าหรือราคาสินค้าของผู้ผลิต (Suppliers) ที่ได้รับของแต่ละผู้ผลิตจนส่งผู้บริโภคคนสุดท้ายของ Suppliers การเพิ่มมูลค่า (Value Chain) หรือราคาสินค้าของผู้ผลิต (Suppliers) ที่ได้รับของแต่ละห่วงโซ่อุปทาน ต้องรู้ว่ามีต้นทุนเพิ่มเท่าไหร่ และเปรียบเทียบมูลค่าที่เพิ่มขึ้นกับต้นทุนที่เกิดว่าจะคุ้มกันหรือไม่

  19. โลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร สถาบันเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ เกษตรกร ผู้ประกอบการ สถาบันเกษตรกร สถาบันเกษตรกร สถาบันเกษตรกร พืช ผลิต ผู้บริโภค การตลาด เก็บรักษา การแปรรูป ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง การรวบรวมผลผลิต ขนส่ง ขนส่ง ปศุสัตว์ ประมง การจัดการโครงสร้างพื้นฐานในการเก็บรวบรวม เทคโนโลยีการเก็บรักษา/ห้องเย็น/โกดัง/ยุ้งฉาง เทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การจัดการปัจจัยการผลิต การจัดการฟาร์ม และคุณภาพสินค้าในฟาร์ม • ตลาดในประเทศ • ตลาดต่างประเทศ จัดการคุณภาพมาตรฐานสินค้าและการส่งเสริมการตลาด บริหารสินค้าคงคลัง ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ การไหลของเงินทุน ทุนดำเนินงานตลอดทั่วทั้งระบบ

  20. การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) :ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อุตสาหกรรมน้ำมันข้าวโพด ส่งออก จำหน่ายในประเทศ 3 % อุตสาหกรรมแป้งข้าวโพด พ่อค้ารวบรวม ส่งออก น้ำ ดิน 94 % อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ส่งออก ฟาร์ม เลี้ยงสัตว์ เกษตรกร (ผลผลิต) 100 % 0.50 % สถาบันเกษตรกร เทคโนโลยีการผลิต ปัจจัยการผลิต 2.50 % ส่งออก ไซโล ส่งออก เมล็ดพันธุ์จำหน่าย บริษัท เมล็ดพันธุ์ขยาย เกษตรกร (ทำเมล็ดพันธุ์) เมล็ดพันธุ์ขยาย ราชการ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เมล็ดพันธุ์จำหน่าย **สินค้าที่มีจำนวนผู้ผลิต (Supplier) ไม่มากจะจัดการได้เร็วกว่าสินค้าที่มี Supplier มาก และหลายห่วงโซ่อุปทาน ดังนั้น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จึงเป็นสินค้าเกษตรที่เป็นโอกาสของสหกรณ์

  21. 2. แนวทางปฏิบัติตามนโยบาย Whole Value Chain Network • (1) การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า • (2) ตัวอย่างการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า : ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • (3) แนวทางปฏิบัติของ สนง.สกจ และ สนง.พท1,2

  22. (1) การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Primary Activities CO-OP Value Chain SWOT Support Activities

  23. การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ระดับจังหวัด การวิเคราะห์ห่วงโซ่มูลค่า

  24. การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ผลิตอาหารสัตว์ การวิเคราะห์ห่วงโซ่มูลค่า:ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ การ ผลิตผลิตภัณฑ์ กรณีนำร่อง การเชื่อมโยงเครือข่ายตลอดห่วงโซ่มูลค่า : การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของสหกรณ์ (Whole Value Chain Network of Maize)

  25. (2) ตัวอย่างการวิเคราะห์ห่วงโซ่มูลค่า : กรณีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

  26. นำเสนอกรณีศึกษา การเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่: การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของสหกรณ์ ( The Whole Value Chain Network of Maize) โดย คณะผู้ปฏิบัติงานโครงการสำคัญเร่งด่วน ของ สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์

  27. CDC เมล็ดพันธุ์ GAP การเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่ (Whole Value Chain Network) ผลิตภัณฑ์ การปลูก เลี้ยงสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์ การรวบรวม การเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่: การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของสหกรณ์ ( The Whole Value Chain Network of Maize)

  28. Break time Break Tried Break Hungry

  29. Where are we now ? Strengths Weakness Opportunities Threats S W O T

  30. การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า ตามกรณีศึกษา Primary Activities SWOT สหกรณ์ Value Chain Support Activities

  31. กรณีศึกษา 1การผลิตเมล็ดพันธุ์ ของสหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด

  32. กรณีศึกษา สหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด (การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) กิจกรรมหลัก (Primary Activities) SWOT กิจกรรม S-พ่อแม่พันธุ์ผลิดโดย ศวพ. 3 มีมาตรฐานและต้นทุนการผลิตต่ำ ผลผลิตต่อไร่ใกล้เคียงพันธุ์เอกชน W-ขาดอุปกรณ์ตากลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ W-สหกรณ์ยังไม่มีการส่งจำหน่ายและขนส่งเมล็ดพันธุ์ให้กับสหกรณ์เครือข่าย W–สายพันธุ์นครสวรรค์ 3 ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย S -สหกรณ์มีการทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์ในแปลงสาธิตก่อนการจำหน่าย รับประกันความงอกโดยเปลี่ยนใหม่ให้กรณีเมล็ดพันธุ์ไม่งอก - บริการขนส่งเมล็ดพันธุ์

  33. กรณีศึกษา สหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด (การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) SWOT กิจกรรม W-ขาดฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ และสมาชิกสหกรณ์เครือข่าย W-สมาชิกสหกรณ์ขาดองค์ความรู้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ -เจ้าหน้าที่สหกรณ์ขาดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ W-เทคโนโลยีการปรับปรุงเมล็ดพันธุ์เป็นเทคโนโลยีขั้นต้น W-ข้อจำกัดในการจัดหาพันธุ์พ่อพันธุ์แม่ของเมล็ดพันธุ์

  34. กรณีศึกษา 2 การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของสหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด

  35. กรณีศึกษา สหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด (การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) กิจกรรมหลัก (Primary Activities) SWOT กิจกรรม S-มีสมาชิก/เกษตรกรผู้ผลิตในพื้นที่ S-มีการวิเคราะห์ดิน W-สมาชิกสหกรณ์ขาดองค์ความรู้ด้านการผลิตที่มีคุณภาพ -สมาชิกขาดเงินทุนในการผลิต S-สมาชิกทำผลผลิตคุณภาพการขนส่งผลผลิตไปจำหน่ายที่สหกรณ์จึงไม่ได้รับผลกระทบระหว่างขนส่ง S– สหกรณ์ตั้งราคารับซื้อนำราคาตลาด (ทำให้สมาชิกได้รับราคาสูงกว่าท้องตลาด) S - สหกรณ์มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิต การบำรุงรักษา และการเก็บเกี่ยวแก่สมาชิกสหกรณ์ก่อนสมาชิกลงแปลงผลิต

  36. กรณีศึกษา สหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด (การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) SWOT กิจกรรม W-ขาดฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ และสมาชิกสหกรณ์เครือข่าย W-สมาชิกสหกรณ์ขาดองค์ความรู้ในการผลิตที่มีคุณภาพ -เจ้าหน้าที่สหกรณ์ขาดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีคุณภาพ S-เทคนิคการผลิต ถอดยอด (ริดใบ) ตากผลผลิตบนต้น ทำให้ผลผลิตต่อไร่สูง W-ผลผลิตออกสู่ตลาดในช่วงเดียวกันมีผลกระทบต่อราคาจำหน่ายของสมาชิก

  37. กรณีศึกษา 3 การรวบรวมข้าวโพด ของสหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด

  38. กรณีศึกษา การรวบรวมข้าวโพด ของสหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด กิจกรรมหลัก (Primary Activities) SWOT กิจกรรม จุดแข็ง-มีสมาชิก/เกษตรกรผู้ผลิตในพื้นที่ จุดอ่อน-ขาดอุปกรณ์ (เครื่องอบลดความชื้น โอกาส-การบริหารจัดการขนส่งมีประสิทธิภาพ โอกาส – ผลผลิตเป็นที่ต้องการ ของตลาด ข้อจำกัด- มีคู่แข่งขันเอกชนและสหกรณ์ไม่มีการบริการนอกสถานที่

  39. กรณีศึกษา การรวบรวมข้าวโพด ของสหกรณ์นิคมแม่สอด จำกัด กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) SWOT กิจกรรม จุดอ่อน-ขาดการวิเคราะห์ข้อมูล ด้านการเงิน/การลงทุน จุดอ่อน-ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้การตลาดสินค้าเกษตร ข้อจำกัด-เครื่องมือ/อุปกรณ์ ไม่ทันสมัย /ไม่เพียงพอ โอกาส-ผลผลิตมีมาก (โดยเฉพาะในฤดูเก็บเกี่ยว)

  40. กรณีศึกษา 4การผลิตอาหารสัตว์ของสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ เชียงใหม่-ลำพูน จำกัด

  41. กิจกรรมหลัก (Primary Activities) กรณีศึกษา สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ เชียงใหม่ลำพูน จำกัด SWOT กิจกรรม อุปสรรค- เมล็ดข้าวโพดมีความชื้นและสิ่งเจือปน จุดแข็ง - สหกรณ์มีโรงผสมอาหารที่ยังไม่เต็มกำลังการผลิต จุดแข็ง - สหกรณ์มีการสำรวจความต้องการของสมาชิกทุกอาทิตย์ จุดอ่อน - สหกรณ์ยังไม่ได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ Service

  42. กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) กรณีศึกษา สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ เชียงใหม่ลำพูน จำกัด SWOT กิจกรรม จุดอ่อน – ขาดระบบในการวิเคราห์ข้อมูลทางบัญชี จุดแข็ง - ได้รับองค์ความรู้ในการพัฒนาสูตรจากคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (งบประมาณตามโครงการประชาวิวัฒน์) จุดแข็ง - มีระบบคอมพิวเตอร์ในการควบคุมสูตรอาหารให้มีมาตรฐานเดียวกัน จุดแข็ง – มีระบบการควบคุมตรวจสอบคุณภาพเมล็ดข้าวโพดก่อนซื้อ

  43. กรณีศึกษา 5การเลี้ยงสัตว์ของสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรเชียงใหม่-ลำพูน จำกัด

  44. กิจกรรมหลัก (Primary Activities)ห่วงโซ่การเลี้ยงสัตว์ SWOT กิจกรรม จุดอ่อน – ขาดอาหารหยาบ เช่น หญ้า จุดอ่อน-ปริมาณอาหารที่ให้โปรตีนมีน้อย อุปสรรค-ศูนย์ตรวจสอบน้ำนมดิบอยู่ไกล อุปสรรค-น้ำนมดิบโดนตัดราคาคุณภาพน้ำนม จุดอ่อน-จำนวนเจ้าหน้าที่ฟาร์ม สัตวบาล มีไม่เพียงพอต่อจำนวนสมาชิก

  45. กรณีศึกษา 6 การผลิตของสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ เชียงใหม่-ลำพูน จำกัด

  46. กิจกรรมหลัก (Primary Activities) SWOT กิจกรรม พัฒนาบรรจุภัณฑ์โดยคัดเกรดไข่บรรจุในกล่องไข่กระดาษ/กล่องไข่พลาสติก เช่น บรรจุ 4 , 6 ,10 ฟอง/กล่อง และติดฉลากสินค้าของสหกรณ์เพื่อขยายตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่มีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวเพิ่มขึ้น S : ไข่ไก่มาจากฟาร์มสมาชิกที่ได้มาตรฐาน มีสมาชิกที่ผลิตไข่ไก่ส่งสหกรณ์สม่ำเสมอ มีรถไปรับจากฟาร์มสมาชิก มีโรงเรือนเก็บไข่ไก่ มีการรับซื้อไข่คละจากฟาร์มสมาชิก S : มีการคัดคุณภาพโดยคัดเกรดไข่ไก่ (เบอร์ 1-5 /ไข่แตก) S : วางแผนการขนส่งไข่ไก่ไปจำหน่าย โดยเส้นทางเดียวกันจัดไปรถคันเดียวกัน S : มีกลยุทธ์ทางการตลาดโดยให้ส่วนลดสำหรับลูกค้าที่มีปริมาณการซื้อสั่งในจำนวนที่กำหนดW : มีรูปแบบการขายไข่ไก่ไม่หลากหลาย คือ ขายส่งกับเอกชน สหกรณ์อื่นในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง S : การขนส่งไข่ไก่ไปให้ลูกค้าตรงตามเวลาที่กำหนด

  47. กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) SWOT กิจกรรม S : ข้อมูลสมาชิกสหกรณ์/บัญชี/การเงิน/โรงคัดแยกไข่ไก่ S : การฝึกอบรมให้กับสมาชิกสหกรณ์โดยร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน S : ฐานข้อมูลสมาชิกที่เลี้ยงไก่ไข่ส่งสหกรณ์/องค์ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่ไข่ที่ได้มาตรฐาน คอมพิวเตอร์ สายพานคัดเกรดไข่ไก่ ระบบบัญชีของสหกรณ์ S : ซื้อไข่ไก่จากฟาร์มสมาชิกที่ได้มาตรฐาน และใช้ราคาอ้างอิงจากสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ราคาไข่ไก่

  48. กรณีศึกษา 7 การจัดจำหน่ายศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ ของสหกรณ์การเกษตรวังชิ้น จำกัด

  49. 1. การนำเข้าวัตถุดิบในการผลิต กรณีศึกษา สหกรณ์การเกษตรวังชิ้น จำกัด (ศูนย์กระจายสินค้า) กิจกรรมหลักหลัก (Primary Activities) 2. การดำเนินการผลิตสินค้า SWOT กิจกรรม 3. การนำสินค้าออกจำหน่าย S: การทำบันทึกข้อตกลงกับสหกรณ์ผู้ผลิต W: สินค้าประมง จัดหาไม่ต่อเนื่อง 4. การตลาดและการขาย S: สถานที่จัดเก็บสินค้า มี 3 สาขา 5. การบริการ S: มีระบบการจัดตารางส่งสินค้า W: ขาดต้นทุนการจัดส่งในแต่ละเส้นทาง S: ร้านค้าสมาชิก 400 แห่ง W: ผจก. เป็นผู้นำเสนอขายสินค้า (ไม่มีทีมขาย) S: การให้สินเชื่อร้านค้าสมาชิก เงินปันผล และการจัดวางสินค้า รวมทั้งการอบรมร้านค้าสมาชิก W: เงินทุนการให้สินเชื่อปรับปรุงร้านค้าสมาชิก ไม่เพียงพอต่อความต้องการ

More Related