1 / 17

การพยากรณ์เพื่อการผลิต

บทที่ 3. การพยากรณ์เพื่อการผลิต. ความหมายของการพยากรณ์. การพยากรณ์ เป็นการคาดคะเนหรือประมาณการเหตุการณ์ในอนาคต โดยอาศัยข้อมูลในอดีตหรือปัจจุบันตลอดจนวิจารณญาณ ความรู้ ประสบการณ์ของบุคคล เพื่อให้การตัดสินใจมีความถูกต้อง. ข้อมูลหรือประสบการณ์ในอดีต. เทคนิคการพยากรณ์ (กระบวนการพยากรณ์).

afya
Télécharger la présentation

การพยากรณ์เพื่อการผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 การพยากรณ์เพื่อการผลิต

  2. ความหมายของการพยากรณ์ • การพยากรณ์ เป็นการคาดคะเนหรือประมาณการเหตุการณ์ในอนาคต โดยอาศัยข้อมูลในอดีตหรือปัจจุบันตลอดจนวิจารณญาณ ความรู้ ประสบการณ์ของบุคคล เพื่อให้การตัดสินใจมีความถูกต้อง ข้อมูลหรือประสบการณ์ในอดีต เทคนิคการพยากรณ์ (กระบวนการพยากรณ์) ผลที่ได้จากการพยากรณ์ แสดงความหมายของการพยากรณ์

  3. ความสำคัญของการพยากรณ์ 1. ด้านการตลาด 2. ด้านการผลิต 3. ด้านการเงิน 4. ด้านทรัพยากรมนุษย์

  4. ประโยชน์ของการพยากรณ์ประโยชน์ของการพยากรณ์ 1. ช่วยในการกำหนดตารางการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2. ทำให้องค์การสามารถเสาะแสวงหาทรัพยากรอื่นๆมาเพิ่มเติมจากพื้นฐาน ข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน 3. ทำให้ทราบว่าองค์การธุรกิจต้องการอะไร 4. นำมาใช้ในการวางแผนช่องทางการจัดจำหน่าย 5. ใช้ในการวางแผนจัดทำงบประมาณสำหรับหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์การ 6. ช่วยในการวางแผนส่งเสริมการจำหน่ายให้กับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. ช่วยในการควบคุมและรักษาส่วนแบ่งตลาดให้มีความต่อเนื่องในด้านบวก 8. ใช้เป็นเครื่องมือในการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินงาน

  5. การพยากรณ์ที่ดีต้อง Timely Accurate Reliable Easy to use Written Meaningful

  6. ขั้นตอน ในระบบ การพยากรณ์ การตัดสินใจใช้การพยากรณ์ เลือกรายการการพยากรณ์ ตัดสินใจเวลา ที่ใช้ในการพยากรณ์ เลือกรูปแบบการพยากรณ์ รวบรวมข้อมูลที่จำเป็น ต่อการพยากรณ์ ทำการพยากรณ์ สร้างความเที่ยงตรงและ ปฏิบัติการวิเคราะห์ผลลัพธ์

  7. ประเภทของการพยากรณ์ สามารถจำแนกได้ 3 ลักษณะ คือ 1. แบ่งตามระยะเวลาที่ใช้ในการพยากรณ์ • การพยากรณ์ระยะสั้น (short – range forecasting) • การพยากรณ์ระยะปานกลาง (medium – range forecasting) • การพยากรณ์ระยะยาว (long – rangeforecasting)

  8. แสดงชนิดและคุณลักษณะของการพยากรณ์แสดงชนิดและคุณลักษณะของการพยากรณ์

  9. การพยากรณ์เชิงคุณภาพ วิธีการพยากรณ์เชิงคุณภาพที่นิยมใช้กันในทางปฏิบัติ มี 4 วิธี ดังนี้ 1. การพยากรณ์โดยวิธีการรวบรวมความคิดเห็นจากพนักงานขาย (opinions of sales staff) 2. การพยากรณ์โดยวิธีการรวบรวมความคิดเห็นของผู้บริหาร (executive opinions) 3. การพยากรณ์โดยวิธีการสำรวจความคิดเห็นของลูกค้า (customer survey) 4. การพยากรณ์โดยวิธีการรวบรวมคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ หรือวิธีเดลไฟ (Delphi method)

  10. การพยากรณ์เชิงปริมาณ มี 2 รูปแบบ คือ 1. ตัวแบบการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา • แนวโน้ม (trend) • ฤดูกาล (seasonality) • วัฏจักร (cycles) • เหตุเหนือความคาดหมาย (random)

  11. Forecast Variations ผันแปรไม่ปกติ Trend เป็นวงจร 46 45 44 ผันแปรตามฤดู

  12. การพยากรณ์โดยใช้ตัวอนุกรมเวลา มีวิธีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. วิธีหาค่าแบบตรงหรือวิธีการหาค่าแบบง่าย (naive approach) 2. วิธีหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (moving average) ดูตัวอย่างหน้า 100-102 3. วิธีปรับเรียบแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล (exponential smoothing) ดูตัวอย่างหน้า 104 ตัวแบบเหตุผล (causal models) การวิเคราะห์การถดถอย (regression analysis) ดูตัวอย่างหน้า 106

  13. ความคลาดเคลื่อนของค่าพยากรณ์ การหาค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยสัมบูรณ์ (MAD : Mean Absolute Deviation) ความแตกต่างระหว่างยอดการขายจากการพยากรณ์กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง จะเป็นบวกหรือลบก็ได้ (ดูตัวอย่างหน้า 108 ในตาราง)

  14. At- Ft Σ MAD = n ความคลาดเคลื่อนของค่าพยากรณ์ (ต่อ) ตัวแบบแสดงความสัมพันธ์ At แทนยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงในคาบเวลา t Ft แทนยอดการขายที่พยากรณ์ไว้ในคาบเวลา t n แทนจำนวนคาบเวลาที่นำมาหาค่าเฉลี่ย แทนเครื่องหมายแสดงค่าสัมบูรณ์ที่ไม่คำนึงว่าจะเป็นเครื่องหมายบวกและลบ Σ แทนเครื่องหมายแสดงว่าต้องบวกเข้าด้วยกันให้ครบจำนวน

  15. ความคลาดเคลื่อนของค่าพยากรณ์ (ต่อ) การหาค่าผิดพลาดเฉลี่ยกำลังสอง (MSE : Mean Square Error) ซึ่งจะเริ่มต้นด้วยการหาผลต่างระหว่างยอดการขายที่ทำการพยากรณ์กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงก่อน ภายใต้เครื่องหมายวงเล็บแล้วยกกำลังสอง 2 (At- Ft) Σ MSE = n การนำค่า MSEไปใช้ต้องถอดรากที่สองก่อน

  16. ความคลาดเคลื่อนของค่าพยากรณ์ (ต่อ) การหาค่าผิดพลาดเฉลี่ย( Mean Forecast Error: MFE) เป็นการหาผลต่างระหว่ายอดการขายที่พยากรณ์ กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงก่อนแล้ว หาผลรวมของความแตกต่างนั้นทุกคาบเวลาเข้าด้วยกัน แล้วหารด้วยจำนวนคาบเวลาที่ใช้ทั้งหมดมาหาค่าเฉลี่ย ค่า MFE ที่ได้ถ้ายิ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 0 เท่าใด ยิ่งแสดงว่าการพยากรณ์มีความแม่นยำมาก At- Ft Σ MFE = n

  17. ความคลาดเคลื่อนของค่าพยากรณ์ (ต่อ) • การหาค่าผิดพลาดร้อยละเฉลี่ยสัมบูรณ์( Mean Absolute Percentage Error: MAPE)

More Related