1 / 34

การรวมธุรกิจ

การรวมธุรกิจ. 1. การซื้อหุ้น 2. แลกหุ้น 3. การซื้อสินทรัพย์. เดบิต PPE 80 สูตรการผลิต 5 รายชื่อลูกค้า 3 สิทธิบัตร สัมปทาน 3 ตรายี่ห้อ 5 ค่าความนิยม 4 เครดิต เงินสด 100. เดบิต รถยนต์ 1,200,000 เครดิต เงินสด 1,200,000

agnes
Télécharger la présentation

การรวมธุรกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรวมธุรกิจ

  2. 1. การซื้อหุ้น • 2. แลกหุ้น • 3. การซื้อสินทรัพย์

  3. เดบิต PPE 80 • สูตรการผลิต 5 รายชื่อลูกค้า 3 สิทธิบัตร สัมปทาน 3 ตรายี่ห้อ 5 ค่าความนิยม 4 • เครดิต เงินสด 100

  4. เดบิต รถยนต์ 1,200,000 เครดิต เงินสด 1,200,000 เดบิต สร้อยคอทองคำ(แท้) 50,000 เครดิต รถยนต์ 50,000

  5. ประมาณการหนี้สิน • ไปทำสัญญามีภาระผูกพันที่จะต้องปรับปรุงสภาพสินทรัพย์ที่เช่า • มีการรับประกันหลังการขาย • มีโครงการให้บำเหน็จพนักงานหลังเกษียณ

  6. งานระหว่างก่อสร้าง 20 เงินสด 20 อาคาร 20 งานระหว่างก่อสร้าง 20 อาคาร 3 ประมาณการหนี้สิน 3

  7. ค่าใช้จ่ายปรับปรุงพื้นที่เกิดเปลี่ยนเป็น 5 บาท • เดบิต ขาดทุนจากการปรับปรุงประมาณการหนี้สิน 2 • เครดิต ประมาณการหนี้สิน 2

  8. การตีราคาใหม่ • 1. ใช้ Market Comparison = FV • 2. Replacement Cost หัก ค่าเสื่อมราคาสะสมก่อน • 3. Income Approach

  9. การบัญชีกรณีตีราคาใหม่การบัญชีกรณีตีราคาใหม่ • 1. วิธีต้นทุนเปลี่ยนแทนหักค่าเสื่อมสะสม เพิ่มต้นทุนสินทรัพย์และค่าเสื่อมสะสมให้เป็นสัดส่วนกัน • 2. วิธีมูลค่ายุติธรรม ตัดบัญชีค่าเสื่อมสะสมออก และใช้มูลค่าตามบัญชีมาตีเพิ่ม

  10. 1. วิธีต้นทุนเปลี่ยนแทนหักค่าเสื่อมสะสม • สมมุติ เครื่องจักรซื้อมา 100 บาท วันที่ 1 มกราคม 2548 คิดค่าเสื่อมราคาเส้นตรง อายุ 5 ปี • ต่อมา สิ้นปี 2549 ตีราคาใหม่ ได้ที่ 90 บาท

  11. หามูลค่าตามบัญชี ณ 31 ธันวาคม 2549 • ราคาทุน 100 • ค่าเสื่อมราคาสะสม 40 • Carrying Amount 60 • 40 : 100  2 : 5

  12. เดบิต เครื่องจักร 50 เครดิต ส่วนเกินทุนฯ 30 เครดิต ค่าเสื่อมสะสม 20

  13. ราคาทุน 150 • ค่าเสื่อมราคาสะสม 60 • Carrying Amount 90 • 40 : 100  2 : 5

  14. 2. วิธีมูลค่ายุติธรรม • เดบิต ค่าเสื่อมราคาสะสม 40 • เครดิต เครื่องจักร 40 • เดบิต เครื่องจักร 30 เครดิต ส่วนเกินทุนฯ 30

  15. การคิดค่าเสื่อมส่วนที่ตีเพิ่มการคิดค่าเสื่อมส่วนที่ตีเพิ่ม • เดบิต ค่าเสื่อมราคา 30 • เครดิต ค่าเสื่อมสะสม 30 • เดบิต ส่วนเกินทุน 10 • เครดิต กำไรสะสม 10

  16. วิธีอัตราคงที่ของมูลค่าคงเหลือที่ลดลงวิธีอัตราคงที่ของมูลค่าคงเหลือที่ลดลง • 100 คิด 20% • สิ้นปีที่ 1 เหลือ 80 ค่าเสื่อมปีนี้ 20 • สิ้นปีที่ 2 เหลือ 64 ค่าเสื่อมปีนี้ 16

  17. วิธีอัตราคงที่ของมูลค่าคงเหลือที่ลดลงวิธีอัตราคงที่ของมูลค่าคงเหลือที่ลดลง • Diminishing Balance Method • = 1- n • 25.4% • สิ้นปีที่ 1 เหลือ 80 ค่าเสื่อมปีนี้ 20 • สิ้นปีที่ 2 เหลือ 64 ค่าเสื่อมปีนี้ 16

  18. เดบิต สินทรัพย์ตามสัญญาเช่า 120 • ดอกเบี้ยรอตัด 20 • เครดิต หนี้สินตามสัญญาเช่า 110 • เงินสด 30

  19. การด้อยค่า • ฉบับนี้ใช้กับ บ.มหาชน เท่านั้น • แต่เราควรรู้ไว้ตามหลักความระมัดระวังในแม่บทการบัญชี

  20. การด้อยค่า • ภาวะที่มูลค่าตามบัญชี(Carrying Amount) สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน(Recoverable Amount=RA)

  21. Recoverable Amount • มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนที่ทำให้ขายได้ Net Selling Price = NSP • มูลค่าจากการใช้ Value in Use = VIU • แล้วแต่ตัวใดจะสูงกว่า

  22. หลักการหา RA • Rational Management

  23. เดบิต ขาดทุนจากการด้อยค่า • เครดิต ค่าเผื่อขาดทุนด้อยค่า • เดบิต ค่าเผื่อฯ • เครดิต กำไรจากการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า

  24. อาคารราคาทุน 200 คิดค่าเสื่อม 20 ปี ใช้งานมาแล้ว 5 ปี สิ้นปีเกิดด้อยค่าเหลือมูลค่า 120 • เดบิต ขาดทุนจากการด้อยค่า 30 • เครดิต ค่าเผื่อขาดทุนด้อยค่า 30

  25. สิ้นปีที่ 8 ทดสอบด้อยค่าได้ RA =110 • มูลค่าตามบัญชี 200 – 80 – 30 = 90 • เดบิต ค่าเผื่อฯ 20 • เครดิต กำไรจากการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า 20

  26. สิ้นปีที่ 8 ทดสอบด้อยค่าได้ RA =140 • มูลค่าตามบัญชี 200 – 80 – 30 = 90 • มูลค่าตามบัญชีปกติ 200 – 80 = 120 • เดบิต ค่าเผื่อฯ 30 • เครดิต กำไรจากการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า 30

  27. VIU • หาจากประมาณการกระแสเงินสดรับหักกระแสเงินสดจ่าย คิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน • วิธีดั้งเดิม • วิธีกระแสเงินสดที่คาดการณ์

  28. VIUวิธีดั้งเดิม • ทำประมาณการกระแสเงินสดรับหักกระแสเงินสดจ่าย คิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยทำแค่กรณีเดียว

  29. VIUกระแสเงินสดที่คาดการณ์VIUกระแสเงินสดที่คาดการณ์ • ทำประมาณการกระแสเงินสดรับหักกระแสเงินสดจ่าย คิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยทำออกมาหลายกรณี แล้วนำเรื่องความน่าจะเป็นเข้ามาช่วย • ปานกลาง Base Case • ดีที่สุด Best Case • แย่ที่สุด Worse Case

  30. VIUกระแสเงินสดที่คาดการณ์VIUกระแสเงินสดที่คาดการณ์ Base Case • Base Case 10 0.6 6 • Best Case 18 0.1 1.8 • Worse Case 6 0.3 1.8 • 8.6+1

  31. NSP และ VIU • ไม่ได้กำหนดให้ผู้ประเมินต้องเป็นคนหา • การด้อยค่าเป็นการพิจารณาไม่ให้สินทรัพย์แสดงมูลค่าสูงเกินไป • เป็นกระบวน Write down

  32. ซื้อสินทรัพย์มา 100 • CGU 1 80 • CGU 2 20 • ค่าความนิยม 20 • ค่าความนิยมCGU 1 16 • ค่าความนิยม CGU 24

  33. CGU 1 • RA = 100 > CGU 1 = 96(80+16) ไม่เกิดการด้อยค่า • RA = 90 < CGU 1 = 96(80+16) เกิดการด้อยค่า • RA = 70 < CGU 1 = 96(80+16) เกิดการด้อยค่า

  34. CGU 1 • RA = 75 < CGU 1 = 70(70+0) มีการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า • RA = 95 < CGU 1 = 70(70+0) มีการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า

More Related