1 / 23

บทที่ 16 การติดตั้งระบบ( System Implementation)

บทที่ 16 การติดตั้งระบบ( System Implementation). แนวคิดของการติดตั้งระบบงานใหม่ เป็นการดำเนินการหลังจากที่โปรแกรมระบบงานพัฒนาเสร็จสมบูรณ์ และผ่านการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมของ การทดสอบ มีการจัดอบรมผู้ใช้ระบบ ก่อนที่มีการติดตั้งใช้งาน

Télécharger la présentation

บทที่ 16 การติดตั้งระบบ( System Implementation)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 16 การติดตั้งระบบ(System Implementation) • แนวคิดของการติดตั้งระบบงานใหม่ • เป็นการดำเนินการหลังจากที่โปรแกรมระบบงานพัฒนาเสร็จสมบูรณ์ • และผ่านการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมของการทดสอบ • มีการจัดอบรมผู้ใช้ระบบ ก่อนที่มีการติดตั้งใช้งาน • ดำเนินการติดตั้งระบบ ตามแผนการปรับเปลี่ยนระบบ(Conversion Plan)

  2. ขั้นตอนของการติดตั้งระบบขั้นตอนของการติดตั้งระบบ • Time Management • เป็นการควบคุมเวลาที่ใช้ในการติดตั้งระบบให้เป็นไปตามแผน • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเวลา • 1. ขนาดของโครงการ • 2. คุณภาพ และ ความสมบูรณ์ของระบบ • 3. เทคนิคที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม • 4. วิธีการปรับเปลี่ยนระบบที่นำมาใช้ • Create Environment • ต้องทำการจัดสร้างสภาพแวดล้อมของการติดตั้งระบบในส่วนของ • สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการ( Operational Environment ) • สภาพแวดล้อมของการทดสอบระบบ( Testing Environment )

  3. ส่วนประกอบของสภาพแวดล้อมส่วนประกอบของสภาพแวดล้อม Operational Environment Hardware Software JCL • Mainframe Com. • Mini Computer Testing Environment Testing Documentation Data

  4. ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • System Training • เป็นการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจหน้าที่และกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติการของระบบ ควรมีเอกสารคู่มือประกอบในการฝึกอบรมด้วย • กรณีที่มีการจัดซื้อโปรแกรมและอุปกรณ์จากผู้ขายควรระบุเงื่อนไขการฝึกอบรมในสัญญาซื้อขายด้วย

  5. ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • ส่วนประกอบของการจัดอบรม มี 2 ชนิด คือ • System Operator Training เป็นการอบรมผู้รับผิดชอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผลระบบ เกี่ยวกับพื้นฐานการใช้งาน และแนวทางการรับมือกับปัญหาฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นได้ • User Training เป็นการอบรมวิธีการใช้อุปกรณ์ โดยระบุรวมถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการแก้ปัญหา • วิธีการจัดการอบรม ทำได้ 2 วิธี คือ • Vender & In-Service Training • In-house Training

  6. ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • File Conversion เป็นการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานจากระบบเก่า ไปสู่ระบบใหม่ โดยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ • File Conversion • System Changeover File Conversionเป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลเพื่อการดำเนินงาน ซึ่งทำได้ 2 วิธีคือ • การบันทึกข้อมูลใหม่ทั้งหมด • การใช้โปรแกรมสำหรับการส่งออกข้อมูล(Export Data) จากระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่

  7. ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • System Changeoverเป็นกระบวนการในการยกเลิกระบบเก่า และเข้าสู่การใช้งานระบบใหม่ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ คือ • Define System Changeover Style • Create Conversion Plan • Site Preparation • Data & File Preparation • Record Counts

  8. System Conversion Style • 1. Direct Cut over • ยกเลิกระบบเก่า เปลี่ยนระบบใหม่ทันที • เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด • ก่อให้เกิดปัญหาของการดำเนินงานมากที่สุด • มักใช้กับระบบข้อมูลที่ไม่ค่อยสำคัญเท่าใดนัก • ควรเปลี่ยนระบบ ณ จุดเริ่มต้นของเวลา

  9. System Conversion Style • 2. Parallel Operation • ดำเนินระบบใหม่ และระบบเดิมคู่ขนานกันไป • ต้องมีทรัพยากรมากเพียงพอกับการใช้งาน • O/S สามารถทำงานคู่ขนานได้ • ผลกระทบจากการใช้งานน้อยมาก

  10. System Conversion Style • 3. Pilot Operation • เป็นการนำร่องระบบใหม่ของหน่วยงานย่อยก่อน จนกระทั่งครบถ้วนทั้งองค์กร • เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด • เกิดความเสี่ยงในการพบข้อผิดพลาดน้อย • 4. Phased Changeover • ดำเนินระบบใหม่เป็นระยะ ทีละส่วนงาน • เป็นการผสมผสานวิธีการ 3 วิธีข้างต้น • จำกัดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาด

  11. Conversion Plan • เป็นแผนที่รวบรวมรายละเอียดของกิจกรรมทั้งหมด ที่เกิดขึ้นในการติดตั้งระบบใหม่ • ต้องกำหนดตัวบุคคลที่รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน • ต้องกำหนดช่วงเวลาของการเกิดเหตุการณ์แต่ละขั้น • มีการคาดการณ์ปัญหาที่เป็นไปได้ และวิธีการแก้ปัญหาล่วงหน้า Define New Data Define Process Define File Define Table Conversion Plan Define Documentation Define Control Plan Define Member

  12. Site Preparation • สิ่งที่ต้องจัดเตรียม • รายการและคุณสมบัติของการเดินสายไฟ • ความต้องการของเครื่องปรับอากาศ • การควบคุมความชื้น • เนื้อที่ว่างสำหรับติดตั้งเครื่อง • Layout ของจุดการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ข้อแนะนำในการจัดเตรียมสถานที่ • หลีกเลี่ยงการใช้พรมปูพื้นห้อง และการลงพื้นด้วยน้ำยาขัดเงา เพราะอาจทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต • เตรียมพื้นที่ว่างสำหรับการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์การบำรุงรักษา และการให้บริการของผู้ขาย • จัดสถานที่ให้มีการหมุนเวียนของอากาศที่ดี

  13. Data & File Preparation • สิ่งที่ต้องจัดเตรียม • ข้อมูลนำเข้าของระบบงาน • แฟ้มข้อมูลหลัก ของระบบงาน • แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง ของระบบงาน • แฟ้มตารางข้อมูลรหัสข้อมูล • เจ้าหน้าที่ป้อนข้อมูลนำเข้าระบบ

  14. RecordCounts • เป็นการควบคุมพื้นฐานของการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบโดยการคีย์ข้อมูลเข้า หรือ โอนข้อมูลจากระบบเก่าเข้าสู่ระบบใหม่ • ใช้วิธีการเขียนโปรแกรมตรวจสอบการทำงานตามลำดับ (Batch Processing) • มีการตรวจนับข้อมูลและแสดงผลข้อมูลเป็นระยะ • มีการตรวจสอบข้อมูลที่เป็นจำนวนเงินหรือตัวเลข

  15. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • แนวคิดของการประเมินผลระบบ • เป็นการประเมินผลคุณภาพของการติดตั้งใช้งานระบบงานใหม่ และให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระบบให้ตรงกับความต้องการใช้งาน • ระยะเวลาที่ทำการประเมินผลระบบ ควรเป็นภายหลังการปรับเปลี่ยนระบบ 1 สัปดาห์ • จัดทำแบบสอบถาม เพื่อเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมประเมินผลระบบ

  16. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) แนวคิดของการประเมินผลระบบ (ต่อ) • เงื่อนไขที่ใช้ในการประเมินผล • ความสอดคล้องกับความต้องการใช้งาน • ความแม่นยำของผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ • ความสมบูรณ์ของระบบ • เวลาที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ • ความพอใจของผู้ใช้งาน • ฟังก์ชั่นในการควบคุมระบบ • มาตรการของการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

  17. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) แนวคิดของการประเมินผลระบบ (ต่อ) • เงื่อนไขที่ใช้ในการประเมินผล • ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ • คุณภาพของระบบฐานข้อมูล • ประสิทธิภาพของทีมงานวิเคราะห์ • คุณภาพและความสมบูรณ์ของเอกสารประกอบระบบ • ผลตอบสนองจากการอบรมผู้ใช้ • ความแม่นยำของการประมาณการค่าใช้จ่ายและ ประโยชน์ที่ได้รับ

  18. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • ขั้นตอนของการประเมินผลระบบ • จัดตั้งทีมงาน ที่รับผิดชอบการประเมินผล • จัดทำแบบประเมินผลระบบ • เก็บรวบรวมข้อมูลภายหลังระยะเวลาติดตั้งใช้งาน • ประเมินผลระบบ • จัดทำรายงานสรุปการประเมินผล ตามรูปแบบและหัวข้อที่กำหนดไว้

  19. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • ส่วนประกอบของการประเมินผลระบบ • การประเมินผลการติดตั้งใช้โปรแกรมระบบ • การวัดและประเมินคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ • Computer Evaluation & Measurement • เป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างของระบบคอมพิวเตอร์ โดยการอาศัยพื้นฐานของประสิทธิภาพของข้อมูลที่ใช้ • นิยมใช้โปรแกรมสังเคราะห์ ที่เรียกว่า Benchmark เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ

  20. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • Benchmark Technique • เป็นเทคนิคของการจัดทำโปรแกรมประยุกต์ ที่เลียนแบบโปรแกรมที่ใช้ประมวลผลข้อมูลจริง • มีการผสมผสานของงาน ที่เป็นตัวแทนโครงการทำงานของผู้ใช้ • เป็นการแสดงเทคนิคการใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูล และให้โอกาสในการทดสอบงานที่เป็นหน้าที่ของระบบ • นำข้อจำกัดของอุปกรณ์มาเป็นปัจจัยสำคัญในการหาข้อเปรียบเทียบ เช่น ความเร็วของระบบประมวลผลกลาง

  21. การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • การจัดทำรายงานเสนอผู้บริหาร เป็นรายงานฉบับสุดท้ายของการพัฒนาระบบที่นำเสนอผู้บริหาร ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ • เอกสารประกอบการทำงานของระบบฉบับปรับปรุงครั้งสุดท้าย • ตารางแสดงพัฒนาการของค่าใช้จ่าย และประโยชน์ที่ได้รับ • เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงกับประมาณการ • ผลการประเมินหลังติดตั้งระบบ

  22. การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้สามารถใช้ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดอายุการใช้งาน • เพื่อให้ระบบสามารถสนับสนุนการทำงานในปัจจุบัน • เพื่อให้ระบบสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ ได้ในอนาคตอันใกล้ • แนวทางการบำรุงรักษาระบบ • การปรับปรุงโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • การปรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • การปรับรุ่นของคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ระบบ

  23. การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) • ข้อพิจารณาในการบำรุงรักษาระบบ • เป็นขั้นตอนที่ใช้ค่าใช้จ่ายสูง ควรเน้นขั้นตอนของการทดสอบและแก้ไขโปรแกรมมากกว่า • เน้นจุดของการบำรุงรักษาเอกสารประกอบระบบควบคู่ไปด้วย

More Related