1 / 74

Logistics and Supply Chain

PURCHASING IN. Suppliers. Customers. Logistics and Supply Chain. การจัดซื้อในกระบวนการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ 27-28 มกราคม 2553.

aizza
Télécharger la présentation

Logistics and Supply Chain

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PURCHASING IN Suppliers Customers Logistics and Supply Chain การจัดซื้อในกระบวนการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ 27-28 มกราคม 2553 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  2. บทบาทและความสำคัญของการจัดซื้อกระบวนการและการวางแผนจัดซื้อการหาแหล่งวัตถุดิบ การคัดเลือกประเมินผู้ขายการวางแผนความต้องการวัสดุนโยบายและกลยุทธ์การจัดซื้อการจัดการสินค้าคงคลังกับการจัดซื้อการจัดซื้อแบบทันเวลา หัวข้อบรรยาย ลูกค้า ผู้ขาย ผู้ซื้อ องค์การ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  3. การจัดซื้อคืออะไร กระบวนการที่บุคคล 2 ฝาย ฝ่ายหนึ่งเรียกว่าผู้ซื้อ ทำสัญญากับอีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้จัดหา ให้ทำการส่งมอบวัตถุดิบ ชิ้นส่วน อุปกรณ์หรือเครื่องมือ สินค้าสำเร็จรูป การให้บริการ หรือสิ่งอื่นใดที่นำมาใช้ในการผลิตหรือขายไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม ตามคุณลักษณะที่ทั้งสองฝ่ายได้มีการ ตกลงกันไว้ล่วงหน้า ให้ส่งมอบภายในระยะเวลาและราคาที่กำหนด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  4. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ ลูกค้า ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการเงิน ฝ่ายจัดซื้อ ผู้บริหาร ผู้ผลิต ฝ่ายการเงิน ฝ่ายการผลิต ผู้จัดหาวัตถุดิบ/สินค้า ผู้จัดส่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  5. ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ได้ให้ความหมายของการจัดซื้อ หมายถึง การซื้อพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ แต่ไม่รวมถึงการจัดหาพัสดุในลักษณะการจ้าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  6. วิธีการจัดซื้อของทางราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีดังกล่าว ได้กำหนดวิธีการจัดซื้อและการจ้าง 6 วิธี ดังนี้ วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ และวิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  7. องค์ประกอบของกระบวนการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานองค์ประกอบของกระบวนการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Plan Source Make Deliver Deliver Source การจัดซื้อ โซ่อุปทานภายในองค์กร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร Source Make Deliver Source Deliver Make Suppliers’Supplier Supplier Customer Customer’sCustomer return Your Company (internal or external) (internal or external) การจัดซื้อ จัดหา (Source) การผลิต (Make) การจัดส่ง (Deliver) การวางแผน (Plan) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  8. องค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานองค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Goods and Services Information Customers Suppliers Finance ขนส่ง จัดซื้อ กระจาย ข้อมูลและการเงิน บริหารสินค้าคงคลัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  9. บทบาทของการจัดซื้อ • ด้านการผลิต • ด้านต้นทุนและค่าใช้จ่าย • ด้านการตลาด • ภาพลักษณ์ขององค์การ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  10. สิ่งที่ธุรกิจต้องการในการจัดซื้อสิ่งที่ธุรกิจต้องการในการจัดซื้อ 1. วัตถุดิบ (Raw Materials) 2. ชิ้นส่วน อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบ (Components) 3. วัสดุสำหรับการรักษา ซ่อมบำรุงและการผลิต (Maintenance Repair and Operating Material : MRO) 4. สินค้าหรือเครื่องมือประเภททุน (Investment or Capital Equipment/Goods) 5. สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods/Product) 6. การบริการ (Service) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  11. องค์ประกอบการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพองค์ประกอบการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ 1. ผู้บริหารให้ความสนับสนุนโดยกำหนดนโยบายการจัดซื้อที่ชัดเจน 2. สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ 3. วางรูปแบบกระบวนการจัดซื้อที่เป็นระบบ 4. ส่งเสริมให้มีการรักษาจรรยาบรรณของการจัดซื้ออย่างเคร่งครัด 5. ทำการสำรวจแหล่งวัตถุดิบหรือสินค้าใหม่ๆ อยู่เสมอ 6. การติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ 7. จัดให้มีการสัมมนาและฝึกอบรมเกี่ยวกับเทคนิคการจัดซื้อในรูปแบบใหม่ 8. เสริมสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานจัดซื้อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  12. บทบาทของการจัดซื้อในโซ่อุปทานบทบาทของการจัดซื้อในโซ่อุปทาน 1. เป็นจุดเริ่มต้นของกิจกรรมในโซ่อุปทาน 2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับพันธมิตรทางธุรกิจ/ลูกค้า 3. เป็นกิจกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกระบวนการจัดการโซ่อุปทาน 4. ช่วยให้กระบวนการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  13. การตัดสินใจทำเองหรือซื้อ (Make-or-Buy-Decisions) ตารางที่ 1 ข้อเปรียบเทียบเหตุผลที่ต้องผลิตเองและเหตุผลที่ซื้อจากภายนอก เหตุผลที่ต้องผลิตเอง เหตุผลที่ซื้อจากภายนอก 1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาจากภายนอก 1. ตัดส่วนที่ไม่จำเป็นเพื่อการลดต้นทุนการผลิต 2. ลดต้นทุนรวมสำหรับการผลิต 2. การปฏิบัติตามพันธสัญญาทางธุรกิจ 3. คุณสมบัติผู้จัดหาวัตถุดิบไม่เหมาะสม 3. สร้างพันธมิตรเครือข่ายทางธุรกิจในโซ่อุปทาน 4. เป็นหลักประกันว่ามีวัตถุดิบเพียงพอ 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับสินค้า 5. ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในองค์การเต็มที่ 5. ประสิทธิภาพการผลิตไม่เพียงพอ 6. ของที่ผลิตมีคุณภาพตามที่ต้องการ 6. ลดต้นทุนสินค้าคงคลัง 7. ตัดผู้จัดหาวัตถุดิบที่ไม่พึงปรารถนา 7. ประโยชน์ต่างๆ จากข้อเสนอของผู้จัดหา 8. ป้องกันความลับเกี่ยวกับตัวสินค้า 8. ขาดประสิทธิภาพด้านการจัดการและเทคโนโลยี 9. ลดความไม่แน่นอนเกี่ยวกับระยะเวลาส่งมอบ 9. การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ทางการค้า 10. ป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ในการออกแบบ 10. เพิ่มประสิทธิภาพในกิจกรรมหลักขององค์การ CP , ฟาร์มโชคชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  14. การจัดซื้อและจัดหาเป็นกิจกรรมที่สามารถก่อให้เกิดคุณค่าขึ้นใน การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ประการแรก เจรจาต่อรองกับผู้จัดหาหรือผู้ขายวัตถุดิบโดยเน้นเพียงน้อยราย ประการที่สอง การสร้างความสัมพันธ์กับผู้จัดหาในระยะยาว ประการที่สาม ใช้กลยุทธ์การควบรวมกิจการทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ประการที่สี่ ประสานความสัมพันธ์กับผู้จัดหาวัตถุดิบให้กลายเป็นหุ้นส่วนธุรกิจ ประการสุดท้าย ธุรกิจจะพัฒนาสู่การเป็นบริษัทเสมือนจริง ไคเรสุ (Keiretsu) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  15. ผู้จัดหาหลายรายหรือน้อยรายจะดีผู้จัดหาหลายรายหรือน้อยรายจะดี ผู้จัดหาหลายราย • ข้อดี • ข้อเสีย ผู้จัดหาน้อยราย • ข้อดี • ข้อเสีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  16. บทบาทของการจัดซื้อในโซ่อุปทานบทบาทของการจัดซื้อในโซ่อุปทาน • การผสมผสานทางธุรกิจในแนวตั้ง (Verticle Integration) แบบไปข้างหลัง (Backward Integration) แบบไปข้างหน้า (Forward Integration) • การผสมผสานแนวนอน (Horizon Integration) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  17. HORIZON INTEGRATION Forward ร้านจำหน่าย ผู้ผลิตซาลาเปา บรรจุหีบห่อ VERTECAL INTEGRATION ผลิตวัตถุดิบ Backward ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  18. บทบาทการจัดซื้อในทางการเงินบทบาทการจัดซื้อในทางการเงิน 1. ด้านกำไรและหนี้สิน (Profit – Leverage Effect) 2. ด้านผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets Effect) 3. ด้านการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover Effect) 4. ด้านต้นทุนวัตถุดิบและการขนส่ง (Materials Costs and Transportation Effect) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  19. ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลการทำกำไรและหนี้สิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  20. รูปแบบของการจัดซื้อ • การจัดซื้อแบบดั้งเดิม • การจัดซื้อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  21. ใบจัดหา MR 1 NO มีวัสดุ? ใบจัดหา MR 1 MR 2 ใบจัดหา MR 2 YES ใบจัดหา MR 3 ใบจัดหา MR 1 ออก PO ใบจัดหา MR 2 ใบสั่งซื้อ PO 1 ใบสั่งซื้อ PO 2 ใบสั่งซื้อ PO 1 ใบจัดหา PO 2 MR 2 ข้อมูลทางบัญชี ใบจัดหา PO 3 แฟ้ม MR ใบจัดหา PO 4 ใบจัดหา PO 2 PO 3 ใบจัดหา PO 2 ใบส่งมอบ DO 2 แฟ้ม MR MR 2 + แฟ้ม PO + MR 2 การขนวัสดุ DO 2 DO 2 PO 2 วัสดุ PO 2 ใบส่งมอบ DO 1 ใบส่งมอบ DO 1 ใบส่งมอบ DO 2 ใบส่งมอบ DO 2 ใบรับสินค้า INV 1 1. การจัดซื้อแบบดั้งเดิม (Traditional Purchasing System) ภาพที่ 1 ระบบการจัดซื้อวัสดุแบบดั้งเดิม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  22. การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI) ระบบการจัดซื้อด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet-based E-Procurement System) จนกระทั่งถึงปีค.ศ. 2000 ซึ่งเป็นยุคที่เรียกว่า ดอทคอม ระบบการจัดซื้อด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Procurement Systems : E-Procurement) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  23. ประโยชน์ของระบบการจัดซื้ออิเล็กทรอนิกส์ประโยชน์ของระบบการจัดซื้ออิเล็กทรอนิกส์ 1. ประหยัดเวลา (Time Savings) 2. ประหยัดค่าใช้จ่าย (Cost Savings) 3. ความเที่ยงตรงถูกต้อง (Accuracy) 4. ทันเวลา (Real Time) 5. การเคลื่อนที่ (Mobility) 6. สามารถตรวจสอบติดตามได้ (Trackability) 7. การจัดการ (Management) 8. ผลประโยชน์แก่ผู้ขาย (Benefits to the Suppliers) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  24. กระบวนการจัดซื้อ 1. การสำรวจความต้องการ (Requirement) 2. การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Specification) 3. การเลือกผู้แทนขาย (Vendor Selection) 4. การกำหนดราคา (Price) 5. การออกใบสั่งซื้อ (Purchasing Order) 6. การชำระเงิน (Payment) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  25. การสำรวจความต้องการ • การผลิต (ฝ่ายผลิต : วัตถุดิบ ชิ้นส่วน อะไหล่ อุปกรณ์ ฯลฯ) • การขาย (ฝ่ายการตลาด/ขาย : สินค้า ส่วนควบของสินค้า) • การให้บริการ (เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  26. ในการสำรวจความต้องการของลูกค้า จะมีการประเมินระดับความสำคัญของความต้องการแต่ละข้อ จากนั้นทีมงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัทซึ่งประกอบด้วยฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย ฝ่ายการตลาด ตลอดจนฝ่ายการวางแผน จะร่วมกันปรึกษาวิเคราะห์ เพื่อแปลงความต้องการของลูกค้าให้เป็นข้อกำหนดทางเทคนิคจะนำข้อกำหนดทางเทคนิคที่มีความสำคัญมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ บ้านคุณภาพ : Quality Function Deployment หรือ QFD ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  27. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  28. การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ตัวอย่างการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด Q. ข้อกำหนดของเนคเทคสำหรับคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด มีอะไรบ้าง และผลดีคืออะไร? A.ข้อกำหนดของเนคเทค สำหรับคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด มีดังนี้ 1. บริษัทที่ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ในโครงการ ต้องผ่านการประเมินระบบคุณภาพการจัดการ ซึ่งอ้างอิงจากมาตรฐานการจัดการสากล ISO 9000ผลดี ทำให้มั่นใจว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ในโครงการเป็นเครื่องที่มีคุณภาพเชื่อถือได้ บริษัทจะต้องมีระบบในการตรวจสอบวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน ตลอดจนการสุ่มตรวจสินค้าสำเร็จรูปก่อนส่งมอบลูกค้า การจัดการกับของที่ไม่ได้มาตรฐาน เป็นต้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  29. 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานสากลที่กรรมการโครงการกำหนดผลดี ทำให้มั่นใจว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีคุณภาพดีตามมาตรฐานสากล จนผ่านการทดสอบ3. เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมี Specification ไม่ต่ำกว่าข้อกำหนดขั้นต่ำผลดี ทำให้ได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมต่อการใช้งาน Spec ไม่ต่ำเกินไป 4. ต้องขายในราคาไม่สูงกว่าที่กำหนด (20,000 บาท รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)ผลดี เป็นการประกันราคาเครื่องคอมพิวเตอร์ในโครงการไม่ให้แพงเกินไป5. ต้องมีบริการหลังขายไม่น้อยกว่าข้อกำหนด (ค่าแรงฟรี 1 ปี ที่ศูนย์บริการ, CPU, MB, HD, RAM และ Monitor รับประกัน 3 ปี ชิ้นส่วนอื่นๆ 1 ปี หรือตามเงื่อนไขของผู้ผลิตชิ้นส่วน)ผลดี เป็นเงื่อนไขการรับประกันที่มีความแน่นอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  30. Q. คุณลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ราคาประหยัดที่จะวางจำหน่ายในล๊อตแรกเป็นอย่างไร ? • A. ร่างข้อกำหนดขั้นต่ำ (Spececification ขั้นต่ำ) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด เป็นดังต่อไปนี้ • CPU : 800 MHz • RAM : 64 MB • HD : 20 GB • Monitor : 15" • Multimeida : CD ROM, Sound and SPK • Network : LAN or MODEM ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  31. การเลือกผู้แทนขาย 1. แหล่งที่มาของผู้แทนขาย 2. ประวัติผู้แทนขาย 3. การเจรจาต่อรอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  32. การเจรจาต่อรอง เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการเลือกผู้ขายก่อนการออกใบสั่งซื้อ การเจรจาต่อรองเพื่อให้ได้มาซึ่งราคาที่เหมาะสมมีตัวแบบที่สำคัญ 4 ลักษณะ ดังนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  33. ตัวแบบที่หนึ่ง : ยึดราคาต้นทุนเป็นหลัก (Cost-based Price Model) ตัวแบบที่สอง : ยึดราคาตลาดเป็นหลัก (Market-based Price Model) ตัวแบบที่สาม : การแข่งขันประมูลราคา (Competitive Bidding Model) ตัวแบบที่สี่ : การใช้วิธีพิเศษ (Special Conditions Model) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  34. เมื่อได้ผู้ขายที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและราคาที่พอเหมาะแล้วผู้ซื้อจะจัดทำใบสั่งซื้อ ที่อาจกำหนดให้อยู่ในรูปของแบบฟอร์มที่เป็นมาตรฐาน ถึงแม้ว่าจะมีการสั่งซื้อด้วยวิธีการอื่นใด เช่น การสั่งซื้อทางโทรศัพท์ การสั่งซื้อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือการสั่งซื้อด้วยวาจาก็ตาม ผู้ซื้อจะต้องส่งใบสั่งซื้อไปยังผู้ขายในภายหลังเพื่อเป็นการยืนยันความต้องการและจะมีผลสมบูรณ์ทางกฎหมาย นอกจากนั้นยังเป็นการตรวจสอบความถูกต้องด้วยลายลักษณ์อักษร ในเอกสารใบสั่งซื้อจะระบุรายละเอียดที่สำคัญต่างๆเพื่อป้องกันความผิดพลาด เช่น ราคาที่ตกลงกัน จำนวนที่สั่ง ระยะเวลาส่งมอบ รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งที่สั่งซื้อ การออกใบสั่งซื้อ (Order) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  35. เมื่อผู้ขายได้รับใบสั่งซื้อและจัดส่งพร้อมเอกสารที่เรียกว่าใบกำกับสินค้า (Invoice) สิ่งที่ผู้ซื้อต้องการมาให้หน่วยงานจัดซื้อจะมีหน้าที่สำคัญประการหนึ่งคือ การตรวจสอบและรับสินค้านั้น โดยจะต้องพิจารณาว่าเป็นไปตามเงื่อนไขในใบสั่งซื้อหรือไม่ • ในการตรวจสอบหากมีคุณลักษณะเฉพาะทางด้านเทคนิคเข้ามาเกี่ยวข้องหน่วยงานจัดซื้ออาจมีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดหนึ่งเพื่อทำการตรวจสอบว่าเป็นไปตามข้อกำหนดหรือไม่ หรือสินค้านั้นมีการชำรุดเสียหายในขณะที่มีการส่งมอบหรือไม่ หากไม่พบข้อผิดพลาดใดๆ ก็จะมีการรับสินค้านั้นส่งให้กับผู้ใช้ต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  36. การชำระเงิน (Payment) จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการสั่งซื้อ โดยหน่วยงานจัดซื้อจะต้องส่งเอกสารหรือแบบฟอร์มใบสั่งซื้อรวมทั้งใบกำกับสินค้าประกอบในการชำระเงินของฝ่ายการเงิน อาจเป็นรูปแบบของการชำระด้วยเงินสดหรือการใช้เครดิต นอกจากกระบวนการสั่งซื้อที่ปรากฏในแต่ละขั้นตอนแล้ว ยังมีกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสั่งซื้อ ได้แก่ การติดตามใบสั่งซื้อหากกรณีสินค้าไม่ได้รับตรงตามระยะเวลาที่กำหนด การดำเนินงานจัดส่งสินค้ากลับคืน ในกรณีสินค้าไม่ครบถ้วน หรือคุณลักษณะของสินค้าไม่ถูกต้องหรือตรงตามใบสั่งซื้อ ผู้ซื้อก็จะแจ้งให้ผู้ขายได้รับทราบเพื่อแก้ไขต่อไป อาจมีการส่งของกลับคืนและให้ส่งมาทดแทน ทั้งนี้หากข้อบกพร่องหรือผิดพลาดเกิดจากผู้ขาย ฝ่ายผู้ซื้อก็ไม่จำเป็นที่จะต้องเสียค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นภาระของฝ่ายขายแทน หรือมิฉะนั้นอาจมีการยกเลิกใบสั่งซื้อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  37. มุมมองสำคัญเกี่ยวกับการจัดหาหรือจัดซื้อมุมมองสำคัญเกี่ยวกับการจัดหาหรือจัดซื้อ 1. เป็นการจัดหาวัตถุดิบหรือสินค้าอย่างต่อเนื่อง (Continuous supply) 2. ลดต้นทุนสินค้าคงคลังให้ต่ำที่สุด (Minimize inventory Investment) 3. เป็นการปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) 4. ก่อให้เกิดการพัฒนาผู้จัดหา (Supplier Development) 5. ทำให้ต้นทุนรวมของธุรกิจต่ำที่สุด (Lowest Total Cost of Ownership) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  38. ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบหรือสินค้าจะต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ในมิติต่างๆ ดังนี้ 1. การประหยัดในแง่ของปริมาณหรือขนาดของการสั่งซื้อ 2. กิจกรรมการจัดหาที่มีประสิทธิภาพจะทำให้ต้นทุนการจัดซื้อต่ำสุด 3. การประสานความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตและผู้จัดหาจะทำให้เป็นการลดต้นทุนรวม 4. ประโยชน์ในแง่ของการพยากรณ์และการวางแผนที่ทำให้ความต้องการและการจัดหามีความสอดคล้องกัน 5. สัญญาที่ดีจะต้องกระจายความเสี่ยงระหว่างผู้ซื้อและผู้จัดหา 6. การใช้เทคนิคที่เหมาะสมในการให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบหรือสินค้าที่มีต้นทุนต่ำที่สุด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  39. กระบวนการจัดหาที่มีประสิทธิภาพธุรกิจจะต้องพิจารณาเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญดังต่อไปนี้กระบวนการจัดหาที่มีประสิทธิภาพธุรกิจจะต้องพิจารณาเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญดังต่อไปนี้ 1. การให้คะแนนและการประเมิน (Supplier Scoring and Assessment) 2. การเลือกผู้จัดหาและการเจรจาทำสัญญา (Supplier Selection and Contract Negotiation) 3. ความร่วมมือในการออกแบบ (Design Collaboration) 4. การจัดหาวัตถุดิบหรือสินค้า (Procurement of Material) 5. การวางแผนและวิเคราะห์การหาแหล่งวัตถุดิบหรือสินค้า (Sourcing Planning and Analysis) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  40. การให้คะแนนและการประเมินการให้คะแนนและการประเมิน จุดที่ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจเลือกผู้จัดหาคือการมุ่งเน้นที่ให้ได้วัตถุดิบหรือสินค้าที่มีราคาต่ำสุดโดยละเลยข้อเท็จจริงที่ว่า ผู้จัดหาแต่ละรายมีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน สำหรับปัจจัยที่ควรนำมาพิจารณาในการตัดสินใจเลือกผู้จัดหาที่มีประสิทธิภาพได้แก่ 1. ระยะเวลารอคอยในการเติมสินค้า (Replenishment lead time) 2. การส่งมอบที่ทันเวลา (On-time performance) 3. ความยืดหยุ่นในการจัดหา (Supply flexibility) 4. ความถี่ในการส่งมอบและขนาดครั้งละไม่มาก(Delivery frequency/minimum lot size) 5. คุณภาพของการวัตถุดิบหรือสินค้า (Supply quality) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  41. 6. ต้นทุนการขนส่งสินค้าจากผู้จัดหา (Inbound transportation cost) 7. ราคา (Pricing terms) 8. การประสานงานด้านข้อมูลสารสนเทศ (Information coordination capability) • การร่วมมือในการออกแบบสินค้า (Design collaboration capability) • อัตราการแลกเปลี่ยน ภาษี (Exchange rates, taxes, and duties) ความสามารถในการส่งมอบ (Supplier viability) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  42. ตารางที่ 4-3 การประเมินเปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้จัดหา หมายถึง คุณลักษณะที่ได้จากการเปรียบเทียบ ที่มา: Sunil Chopra and Peter Meindl ,Supply Chain Management, 2004. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  43. การทำสัญญาจัดซื้อ • การประเมินและให้คะแนนผู้จัดหา (Supplier Scoring and Assessment) เป็นกระบวนการที่ใช้ในการจัดลำดับความสำคัญเพื่อวัดประสิทธิภาพของผู้จัดหา แนวคิดดั้งเดิมได้ให้ความสำคัญที่ราคาสำหรับใช้ในการเปรียบเทียบว่าควรจะตัดสินใจเลือกวัตถุดิบหรือสินค้าจากผู้จัดหารายใด • โดยความจริงแล้วมีปัจจัยที่สำคัญอื่นๆ อีกมากที่มีผลต่อการจัดซื้อ เช่น ระยะเวลารอคอย (Lead time) ความเชื่อถือได้ของผู้จัดหา (Reliability) คุณภาพของวัตถุดิบ (Quality) และการออกแบบ • สำหรับการตัดสินใจที่จะเลือกผู้จัดหาที่เหมาะสมนั้นจะต้องผ่านกระบวนการประเมินในแง่มุมต่างๆ เพื่อให้คะแนนในวัดสิ่งที่ได้ (Output) ผลที่ได้จากการทำความตกลงกับผู้จัดหาก็คือสัญญาจัดซื้อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  44. ในการออกแบบสัญญามีคำถามที่ต้องพิจารณา ดังนี้ 1. สัญญาที่จัดทำขึ้นมีผลกระทบต่อกำไรขององค์การอย่างไรรวมทั้งผลกระทบต่อกำไรของโซ่อุปทาน (How will the contract impact the firm’s profits and total supply chain profits?) 2. สิ่งจูงใจในสัญญานำไปสู่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือบิดเบือนไปหรือไม่ (Will the incentives in the contract introduce any information distortion?) 3. สัญญาจะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของผู้จัดหาอย่างไร (How will the contract influence supplier performance along key performance measures?) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  45. ลักษณะของสัญญา 1. รับสินค้าคืน (Buyback Contracts) 2. สัญญาแบ่งปันรายได้ (Revenue-Sharing Contracts) 3. ความยืดหยุ่นเกี่ยวกับจำนวน (Quantity Flexibility Contracts) 4. สัญญาที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถของตัวแทนจำหน่าย (Contracts to Increase Agent Effort) 5. สัญญาที่จะนำไปสู่การปรับปรุงประสิทธิภาพของผู้จัดหา (Contracts to Induce Performance Improvement) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  46. สัญญาที่ดีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การธุรกิจสัญญาที่ดีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การธุรกิจ 1. เพิ่มกำไรให้กับธุรกิจและโซ่อุปทาน (Increase total supply chain costs) 2. ป้องกันการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง (Prevent information distortion) 3. การให้สิ่งจูงใจแก่ผู้จัดหาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้ดียิ่งขึ้น (Performance improve of supplier by giving incentive) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  47. การประสานความร่วมมือ 1. การสร้างสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตและผู้จัดหา จะทำให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ถูกต้อง 2. มีการออกแบบสินค้าที่ก่อให้เกิดความประหยัดในทุกขั้นตอนของการออกแบบใน 3. วัตถุประสงค์สำคัญของความร่วมมือในการออกแบบก็คือ มุ่งลดต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการขนส่ง การขนถ่ายวัสดุและการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายสินค้าคงคลัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  48. สำหรับแนวทางตัดสินใจเกี่ยวกับการแสวงหาวัตถุดิบหรือสินค้าเชิงปฏิบัติมีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้สำหรับแนวทางตัดสินใจเกี่ยวกับการแสวงหาวัตถุดิบหรือสินค้าเชิงปฏิบัติมีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้ 1. ใช้ทีมงานที่มีความสามารถ(Use multifunction teams/collaboration) 2. การติดต่อประสานงานในรูปแบบที่เหมาะสม (Ensure appropriate coordination across region and business units) 3. การประเมินต้นทุนรวมอยู่เสมอ (Always evaluate the total cost of ownership) 4. สร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้จัดหาในระยะยาว (Build long-time relationship with key supplier) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  49. การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพในการจัดหาแหล่งวัตถุดิบหรือสินค้ามีข้อพิจารณาที่สำคัญดังนี้การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพในการจัดหาแหล่งวัตถุดิบหรือสินค้ามีข้อพิจารณาที่สำคัญดังนี้ 1. การประหยัดในแง่ของขนาด (Better economic of scales) 2. ลดต้นทุนรวมในการจัดซื้อ (Reduce the over-all cost of purchasing) 3. ความร่วมมือในการออกแบบ 4. ความสอดคล้องระหว่างความต้องการและการจัดหา (Matching supply and demand) 5. การกระจายความเสี่ยง (Sharing risk) 6. ประโยชน์ในการแข่งขันด้วยราคาที่ต่ำกว่า (Competition benefit in lower purchase price) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

  50. บทบาทของหน่วยงานการจัดหาและการจัดซื้อบทบาทของหน่วยงานการจัดหาและการจัดซื้อ 1. จัดหาหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่มีคุณภาพราคาที่เหมาะสม มีปริมาณที่ถูกต้องและทันต่อเวลาที่กำหนด 2. รักษาความสมดุลระหว่างระดับการลงทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการสั่งซื้อและเก็บรักษาวัตถุดิบหรือวัสดุโดยให้มีต้นทุนต่ำที่สุด 3. ให้ความสำคัญกับผู้ขายหรือผู้จำหน่ายวัตถุดิบ เลือกสรรผู้จำหน่ายวัตถุดิบเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีเพื่อให้เป็นพันธมิตรทางธุรกิจในระยะยาว 4. จัดทำมาตรฐานวัตถุดิบ ผู้แทนจำหน่าย และการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้วัตถุดิบร่วมกันได้ 5. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กรให้มีแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน 6. สร้างเกณฑ์การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของฝ่ายจัดหาหรือจัดซื้อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติระ ระบอบ

More Related