1 / 60

โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เพื่อลด การ ใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย (Antibiotic Smart Use ; ASU)

ทีมคณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัด (PTC) โรงพยาบาลลอง อ.ลอง จ.แพร่. โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เพื่อลด การ ใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย (Antibiotic Smart Use ; ASU). เป้าหมาย เพื่อ ลดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อในโรคเป้าหมาย ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน อาการท้องร่วง-ท้องเสีย และแผลเลือดออก.

alden
Télécharger la présentation

โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เพื่อลด การ ใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย (Antibiotic Smart Use ; ASU)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทีมคณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัด (PTC) โรงพยาบาลลอง อ.ลอง จ.แพร่ โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย (Antibiotic Smart Use ; ASU)

  2. เป้าหมาย เพื่อ ลดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อในโรคเป้าหมาย ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน อาการท้องร่วง-ท้องเสีย และแผลเลือดออก โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย

  3. โครงการนี้ เกิดจากความเชื่อที่ว่า การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกิดจากความรู้ แต่... ความรู้อย่างเดียวมันไม่เพียงพอในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย

  4. คุณรู้ว่า...เชื้อดื้อยา เป็นวิกฤต ทุกคนต้องเริ่มมือแก้ไข โรงพยาบาลสามารถ..ประหยัดเงินและค่ารักษาพยาบาลในผู้ที่ดื้อยา สปสช. กำหนดให้การใช้ยา กำหนดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพบริการ ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ ได้ร่วมกันสร้างบุญกุศล ที่ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีและปลอดภัย เหตุผลที่ควร...เข้าร่วมโครงการนี้

  5. หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า“ยาแก้อักเสบ”หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า“ยาแก้อักเสบ” การอักเสบ การอักเสบแบบติดเชื้อ • การอักเสบแบบไม่ติดเชื้อ • เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ ภูมิแพ้ โรค SLE • ยาสเตียรอยด์ (Steriods) • ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) ติดเชื้อแบคทีเรีย ติดเชื้อไวรัส ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ

  6. ความหมายที่ 1: ยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตราย ตาม พรบ. ยา ยาปฏิชีวนะเป็น “ยาอันตราย”

  7. ความหมายที่ 2:อันตรายจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ แพ้ยา อาการข้างเคียงจากการใช้ยา เชื้อดื้อยา ยาปฏิชีวนะเป็น “ยาอันตราย”

  8. Antibiotic Associated Colitis (AAC) ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล

  9. อาการไม่พึงประสงค์ Penicillins     ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล

  10. การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อ ทำให้เชื้อดื้อยาอย่างรวดเร็ว การดื้อยาทำให้ประชาชนทุกคนอยู่ในอันตราย

  11. Acinetobacter • 1998 : 98% susceptible to imipenem • 2006 : only 43%susceptible to imipenem • E.coli • 1999 : 90% susceptible to ceftriaxone • 2006 :only 68% susceptible to ceftriaxone National Antimicrobial Resistance Surveillance, Thailand ( NARST ) ที่มา: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิศักดิ์

  12. การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมเกิดขึ้นบ่อยมากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมเกิดขึ้นบ่อยมาก ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล

  13. Inappropriate use of antibiotics in teaching hospitals ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล 91% HogerzeilHV. Promoting rational prescribing: An international perspective. Br J Clin Pharmac. 1995;39:1-6

  14. การใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ = การทำร้ายครอบครัวและคนรอบข้าง • เชื้อดื้อยาแบ่งตัว และถ่ายทอดจากคนหนึ่งสู่คนอื่น ๆ ได้ ผ่านทางการไอ จาม การกิน และการสัมผัส • ผู้มีความเสี่ยงสูงจากการติดเชื้อดื้อยา • เด็ก • คนแก่ • คนที่เป็นเบาหวาน • คนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำหรือบกพร่อง

  15. Mariana bridi: นางแบบชาวบราซิล ปรับปรุงจาก: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิศักดิ์

  16. เสียชีวิตในวัยเพียง 20 ปี...เพราะเชื้อดื้อยา แพทย์ตัดมือและเท้าทั้งสองข้าง ของนางแบบชาวบราซิล (พยายามที่จะรักษาชีวิตเธอไว้ แต่ไม่สำเร็จ)

  17. สถานการณ์ยาปฏิชีวนะในประเทศไทยสถานการณ์ยาปฏิชีวนะในประเทศไทย • มูลค่าการผลิตและนำเข้าของยาฆ่าเชื้อ/ยาปฏิชีวนะสูงเป็นอันดับ 1 ติดต่อกัน 3 ปีซ้อน • คิดเป็น 1.6 หมื่นล้านบาท หรือเฉลี่ยเกือบ 1 ใน 4 ของมูลค่ายาทั้งหมด • คนไทยใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรือ • ต่างจังหวัดกินยาปฏิชีวนะรักษาหวัดคิดเป็นร้อยละ 40-60 และสูงถึงร้อยละ 70-80 ใน กทม. • โรงเรียนแพทย์พบการใช้ยาปฏิชีวนะไม่สมเหตุผลถึง 30-90% • รายงาน ADR พบปัญหาจากการใช้ยาฆ่าเชื้อ/ยาปฏิชีวนะสูงเป็นอันดับ 1 • อัตราเชื้อดื้อยาเพิ่มสูงถึงร้อยละ 25-50 • ขณะที่อัตราเชื้อดื้อยาสูงขึ้น แต่การคิดค้นยาปฏิชีวนะใหม่กลับลดลง • ตลาดยาปฏิชีวนะไม่คุ้มทุน เพราะไม่นานก็เกิดเชื้อดื้อยา วิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา คือ หยุดใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรือ จุดเริ่มต้นของโครงการ Antibiotics Smart Use

  18. เป้าหมายหลัก:ลดการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะของบุคลากรทางการแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยนอกที่ป่วยด้วย 3 โรคเป้าหมาย ที่พบบ่อยซึ่งเป็นโรคที่ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • โรค URI (หวัด-เจ็บคอ) • ท้องร่วงเฉียบพลัน • แผลเลือดออก • เหตุผล • บุคลากรทางการแพทย์– เพราะเป็นผู้สั่งใช้ยาโดยตรง และเป็นแบบอย่างของการใช้ยาที่ผู้ป่วยและคนรอบข้างมักจดจำไปทำตาม • ผู้ป่วยนอก– ผู้ป่วยนอกที่สุขภาพทั่วไปแข็งแรง และอายุ 2 ปีขึ้นไป จึงไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • 3 โรคเป้าหมาย–เพราะเป็นโรคที่พบบ่อย หายได้เองไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • เป้าหมายอีกชุด คือ: • พัฒนาเป็นนโยบายระดับประเทศเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ ซึ่งเป็นนโยบายที่ปฏิบัติได้จริงในพื้นที่ (bottom-up policy development) • ปลูกฝังฐานความคิดเกี่ยวกับการใช้ยาที่สมเหตุผล • พัฒนาและเพิ่มศักยภาพเครือข่ายด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป้าหมายโครงการ Antibiotics Smart Use

  19. URI

  20. URI

  21. สังคม ลูกหลาน และประเทศชาติ คนไข้ บุคลากรทางการแพทย์ – พรบ. พิจารณาคดีผู้บริโภค Antibiotics Smart Use เพื่อใคร

  22. ปรับปรุงจาก: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิศักดิ์

  23. ประชาชนสามารถเดินไปที่ที่ศาลและฟ้องร้องด้วยวาจา ไม่มีค่าใช้จ่าย อายุความ 3 ปี สามารถเรียกค่าเสียหายสูงได้ถึง 2 เท่าของค่าเสียหายจริง (ฟ้องเรียกค่าเสียหายทางจิตใจได้ด้วย) ภาระในการพิสูจน์อยู่ที่ผู้ให้การรักษาว่าได้รักษาถูกต้องหรือไม่ ศาลสามารถเปลี่ยนคำพิพากษาภายหลังให้โทษ แรงขึ้นกว่าเก่าได้

  24. ระดับ 0 ยังไม่ได้ดำเนินการ

  25. 1. ปรัชญาของทำงาน ASU เน้น decentralization และการทำงานอย่างเป็นเครือข่าย (networking) เพื่อให้เกิด sense of ownership ของสถานพยาบาลและจังหวัดที่ทำโครงการ • พื้นที่เป็นเจ้าของโครงการ แต่ละจังหวัดมีทีม ASU ของตนเอง • ส่วนกลางจะเป็นที่ปรึกษา (พี่เลี้ยง)ที่จะส่งเสริมศักยภาพของจังหวัด • จังหวัดที่เข้าร่วมโครงการฯ ก่อน จะเป็น “พี่เลี้ยง” ให้กับจังหวัดอื่นๆ ต่อไปได้ ข้อตกลงเบื้องต้น ASU # 1

  26. ประวัติของ ASU ASU I: สระบุรี ก.ย. 2549 อย.ขอทุนจาก WHO ทำต้นแบบ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ส.ค. 2550 เริ่มโครงการนำร่อง ASU ที่สระบุรี ส.ค. 2551 สรุปผลโครงการนำร่อง ก.ค. 2552 สรุปผลความยั่งยืนโครงการนำร่อง ASU II: อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง และกลุ่ม รพ.ศรีวิชัย ก.ย. 2551 อย. รับทุนจาก สวรส. เพื่อหารูปแบบ การขยาย ASU สู่ความยั่งยืน มีจังหวัด อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง (จ.ตรัง) กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย เข้าร่วมโครงการ ส.ค. 2552 สรุปผลโครงการ ASU I: ทำอย่างไรจึงเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ASU II: ทำอย่างไรจึงจะยั่งยืน ASU III: สถานพยาบาล/จังหวัดอื่นๆ - โรงพยาบาลลอง?

  27. เป็นพี่เลี้ยง วิทยากร หรือ แหล่งศึกษาดูงานให้ ASU รุ่นต่อไป ขั้นตอนหลักโครงการ ASU • ท่านเรียนรู้เกี่ยวกับโครงการโดยผ่านประสบการณ์ของทีมส่วนกลางและทีม ASU รุ่นก่อนๆ • ท่านเทียบเคียงข้อมูลข้างต้นกับปัญหาและบริบทของท่าน • ตั้งเป้าหมาย และวางแผนให้สอดคล้องกับพื้นที่ของท่าน • ปริมาณการใช้ ABO ลดลง ( e.g., 10%) * • ความรู้ทัศนคติดีขึ้นหลังการอบรม * • คนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO หายป่วยและพึงพอใจ (e.g., 80%) • คนไม่ได้ยา ABO เพิ่มขึ้น (e.g., 20 %) • APR จากการใช้ ABO ลดลง (e.g., 20%) • เตรียมการ และลงมือทำตามแผน อบรม รณรงค์ ใช้สื่ออุปกรณ์ • เก็บข้อมูลและวัดผล • ปริมาณการใช้ยา ABO * • ความรู้ทัศนคติดีขึ้นหลังอบรมหรือไม่ * • คนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO หายป่วยหรือไม่ พึงพอใจมากหรือน้อย • ร้อยละคนไม่ได้ยา ABO เพิ่มหรือไม่ • APR จากการใช้ ABO ลดลง • สรุปบทเรียน

  28. โครงการนำร่องในจังหวัดสระบุรีโครงการนำร่องในจังหวัดสระบุรี ทดสอบว่า Interventions ใช้ได้ผลหรือไม่ (รพช.ทุกแห่ง 10 แห่ง สอ.ทุกแห่งในสังกัดรวม 87 แห่งในสระบุรี) ASU @ ปีที่ 1

  29. การประชุมกลุ่มย่อยระดมความคิดการประชุมกลุ่มย่อยระดมความคิด • การใช้ยา ABO พร่ำเพรื่อทำให้เกิดอะไร • ใครบ้างที่ใช้ยา ABO พร่ำเพรื่อเพราะเหตุใด • เรียงลำดับปัจจัย (สาเหตุ) ที่ทำให้ใช้ยา • ABO พร่ำเพรื่อ โดยเรียงตามความสำคัญ • และความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนแปลง • ผลการประชุม: • สาเหตุหลักของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน รพช. และ สอ. 2 ประการ คือ • ความรู้ ความเชื่อที่ไม่ถูกต้องของบุคลากรทางการแพทย์ • แรงกดดันจากคนไข้ ภาพการประชุมที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา14 ส.ค. 51

  30. บุคลากรทางการแพทย์ คนไข้ และประชาชนทั่วไป

  31. 3. การลงมือทำ (Implementation)

  32. เจ้าหน้าที่เข้ารับการอบรมAntibiotics Smart Use ถ่ายทอดความรู้ ASU ให้ทีมงานที่ไม่ได้ไปอบรม ถ้าเจอคนไข้หวัดขอยาปฏิชีวนะ จ่ายยา ฟ้าทะลายโจรแทนนะ คุณเกศณีย์ คงสมบรูณ์ (พยาบาลวิชาชีพ) สอ.หลังเขา สระบุรี

  33. นำความรู้และสื่ออุปกรณ์ไปสู่การปฏิบัตินำความรู้และสื่ออุปกรณ์ไปสู่การปฏิบัติ

  34. สานต่อโครงการ Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี แลก “ยาปฏิชีวนะ” ด้วย “ยาสามัญประจำบ้าน” ในร้านขายของชำโดย นพ.สมชาติ สุจริตรังสีรพ. ดอนพุดสระบุรี โครงการ ASU สู่ชุมชนโดย คุณเกศนีย์ คงสมบรูณ์ สถานีอนามัยหลังเขาอ.มวกเหล็ก สระบุรี

  35. หลังการดำเนินโครงการ และมีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง • สถานีอนามัยหลังเขา ได้ส่งผลงานในโครงการ ASU ตนเองเข้าประกวด และได้รับ “รางวัลยอดเยี่ยม ประจำปี 2552” จากการประกวดผลงาน R-2-R ของสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิจากทั่วประเทศ สถานีอนามัยหลังเขา (สระบุรี)ได้รับรางวัลระดับประเทศ

  36. หลักการ • ให้เกียรติซึ่งกันและกัน (recognition) • แบ่งปันกำลังใจไม่โดดเดี่ยว (social support) • สร้างความภูมิใจร่วมกันที่ได้ทำความดี (meaningful action) ให้สังคมและประเทศชาติ • วิธีการ • จดหมายข่าว - เผยแพร่ข้อมูลและกิจกรรมการดำเนินโครงการของพื้นที่แต่ละแห่งในกลุ่มสมาชิกและหน่วยงานส่วนกลางต่างๆ • สื่อสาธารณะ: หนังสือพิมพ์ สร้างเสริมกำลังใจของสมาชิกโครงการ

  37. ตัวชี้วัด • ปริมาณการใช้ยา ABO • ความรู้ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ ก่อนและหลังอบรมของผู้สั่งใช้ยา • สุขภาพและความพึงพอใจของคนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO • ร้อยละคนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO ใน 3 โรคเป้าหมาย ประเมินผล

  38. ตัวชี้วัด 1:การเปลี่ยนแปลงการใช้ยาปฏิชีวนะในช่วง 6 เดือนก่อนและหลัง intervention ในช่วงเวลาเดียวกัน(ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า ลดลงร้อยละ 10) ปริมาณการใช้ปฏิชีวนะ (แสนเม็ด/แคปซูล) ปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ (พันขวด) -18% (1.44 แสนบาท) -23% (0.4 แสนบาท) -46% (0.5 แสนบาท) -39% (1.41 แสนบาท) • ใน 6 เดือน สอ 44 แห่ง รพช 8 แห่ง ประหยัดค่ายาได้ 381,427 บาท • คำนวนย้อนกลับเป็นของรพช.ทุกแห่ง (n=10) และ สอ.ทุกแห่งที่อยู่ในสังกัดรพช.(n=87) • ใน 1 ปีจะประหยัดค่ายาได้กว่า 1.2 ล้านบาท ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  39. ตัวชี้วัด 3:ร้อยละของผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ ในช่วง 6 เดือน ก่อนและหลัง intervention (ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 และเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุม) สระบุรี 8,099 ราย อยุธยา 5,865 ราย 74.6 45.5 44.2 42.3 ผู้ป่วยที่ไม่ได้ยา ABO ในสระบุรีเพิ่มขึ้น 29% หรือคิดเป็นร้อยละ 64 ของสัดส่วนคนไข้เดิมที่ไม่ได้ยา ABO (p < 0.00) ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  40. ตัวชี้วัด 2: ความรู้และทัศนคติของบุคลากรทางการแพทย์ก่อน-หลังการอบรม(ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังจากได้รับการอบรม) • ใช้แบบสอบถาม Pre-test and post-test design (แบบสอบถามผ่านการทำ pilot test และ reliability test) • ข้อมูลพื้นฐาน: ผู้หญิง 87%, พยาบาล 64%, ทำงานในโรงพยาบาล 74%, อายุเฉลี่ย 36 ปี • ความรู้ ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  41. วิธีการ:โทรศัพท์สัมภาษณ์ผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้รับ ยาปฎิชีวนะ 1,200 คน • เดือนละ 100 คนแรก/โรค นาน 4 เดือน: ธันวาคม 2550 - มีนาคม 2551 • สัมภาษณ์ในระยะ 7-10 วันหลังการรักษา • โทรศัพท์ติดตาม 3 ครั้ง ต่างวัน และต่างเวลา • เป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ • ผู้ป่วยอย่างน้อยร้อยละ 70 มีอาการดีขึ้น ความพึงพอใจในการรักษามีความรู้ความเข้าใจ และไม่แสวงหาการรักษาเพิ่มเติม ตัวชี้วัด 4: สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  42. ผลต่อสุขภาพ และการแสวงหาการรักษาเพิ่มเติม ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  43. ความพึงพอใจของผู้ป่วย (n=1196) ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  44. ร้อยละ 90 ของคนไข้ รู้ว่า... • เป็นหวัดต้องพักผ่อน • ท้องเสียควรกินเกลือแร่ • มากกว่า 70% ของคนไข้ยังไม่รู้ หรือมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องว่า • โรคหวัดเจ็บคอเกิดจากเชื้อไวรัส • คิดว่ายาปฏิชีวนะจะช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น • อาหารเป็นพิษต้องกินยาฆ่าเชื้อหรือยาปฏิชีวนะ • เวลาไม่สบายส่วนใหญ่ ต้องกินยาปฏิชีวนะ จึงจะหาย • ยาปฏิชีวนะเป็นยาที่ปลอดภัย ไม่เคยมีใครตายจากการกินยาปฏิชีวนะ ความรู้-ความเชื่อของผู้ป่วย ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี

  45. สรุป (ผลตามตัวชี้วัด) • โครงการนำร่อง ASU ประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะ • ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาปฏิชีวนะลดลง • ร้อยละผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ เพิ่มขึ้น • บุคลากรทางการแพทย์มีความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อ และความตั้งใจไม่สั่งใช้ยาปฏิชีวนะเพิ่มขึ้น • คนไข้ที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะหายป่วย/อาการดีขึ้น พึงพอใจต่อผลการรักษา • ต้องเน้นประชาชนมากขึ้น

  46. สรุป 2 (บทเรียนสระบุรี) • จุดแข็งของสระบุรีโมเดลที่ทำให้โครงการประสบผลสำเร็จ คือ • ภาวะผู้นำของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดที่สนับสนุนโครงการอย่างเข้มแข็ง • ความพยายามของทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agents’ effort) • ความตั้งใจจริงหรือการมีใจ (Will power) ของบุคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาล • สิ่งท้าทาย • ประเด็นเรื่องของความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อโครงการยุติลง ซึ่งหากจะยั่งยืนจำเป็นต้องอาศัยความพยายามของทีมจังหวัดในการขับเคลื่อนเพื่อผนวกหรือผสมผสานกิจกรรมของโครงการเข้ากับงานประจำโดยมีจุดหมายร่วมกันคือเพื่อความปลอดภัยแก่คนไข้

  47. ASU ปีที่ 2: ขยายผลอย่างไรให้ยั่งยืน (กันยายน 2551 – สิงหาคม 2552) อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง (จ.ตรัง) กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย ASU@ ปีที่ 2

  48. นโยบายชัดเจน บริหารโครงการผ่านเครือข่ายที่เข้มแข็ง มีพิธีการร่วมกับส่วนกลาง เช่น การเปิดตัวโครงการ อบรมแบบ zoning มีแพทย์และเภสัชกร ในพื้นที่เป็นวิทยากร เภสัชกรจัดรายการวิทยุและเคเบิลท้องถิ่น นวตกรรม (เช่น แผ่น roll-up, แผ่นพลิก) อุบลราชธานี

More Related