1 / 101

การประเมินตนเอง ตามมาตรฐานตอนที่ 4 “ ผลการดำเนินงานขององค์กร ”

การประเมินตนเอง ตามมาตรฐานตอนที่ 4 “ ผลการดำเนินงานขององค์กร ”. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สิงหาคม 2551. Learning & Improvement. Less Prescriptive More generic. MBNQA/TQA framework. Focus on Results. บูรณาการ Health Promotion เข้าไปในทุกส่วน. Context Driven.

alta
Télécharger la présentation

การประเมินตนเอง ตามมาตรฐานตอนที่ 4 “ ผลการดำเนินงานขององค์กร ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินตนเองตามมาตรฐานตอนที่ 4“ผลการดำเนินงานขององค์กร” สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สิงหาคม 2551

  2. Learning & Improvement Less Prescriptive More generic MBNQA/TQA framework Focus on Results บูรณาการ Health Promotion เข้าไปในทุกส่วน Context Driven ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล

  3. ใช้ 3P เพื่อดูแลภาพรวมของการพัฒนาทั้งองค์กร ความท้าทายขององค์กร ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ความต้องการของผู้รับบริการ สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การแข่งขัน ปัจจัยภายในองค์กร 6.1 การออกแบบระบบงาน องค์กรกำหนดงานที่เป็นความเชี่ยวชาญพิเศษของตน ออกแบบระบบงาน และกระบวนการสำคัญ เพื่อส่งมอบคุณค่าให้แก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่นๆ, พร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน, และบรรลุความสำเร็จขององค์กร. 6.2 ก. การจัดการกระบวนการทำงาน องค์กรนำกระบวนการทำงานสำคัญไปปฏิบัติ บริหารจัดการ เพื่อส่งมอบคุณค่าให้แก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่น และเพื่อบรรลุความสำเร็จขององค์กร. I - 4.1 ก. การวัดผลงานขององค์กร องค์กรจัดให้มีการวัดผลงาน โดยใช้ข้อมูลและสารสนเทศ ในทุกระดับและทุกส่วนขององค์กร. I - 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ องค์กรกำหนดกลยุทธ์ และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เพื่อตอบสนองกับความท้าทายขององค์กร และสร้างความเข้มแข็งให้กับการดำเนินงานขององค์กร. IV ผลการดำเนินงานขององค์กร องค์กรแสดงให้เห็นผลการดำเนินงานที่ดีและการปรับปรุงในประเด็นสำคัญ ได้แก่ ผลด้านการดูแลผู้ป่วย ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่นๆ ผลด้านการเงิน ผลด้านบุคลากร ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ผลด้านการนำ และผลด้านการสร้างเสริมสุขภาพ Analysis, Review, & Improvement I - 4.1 ข. การวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุงผลงาน I - 6.2 ข. การปรับปรุงกระบวนการทำงาน II - 1.1 การพัฒนาคุณภาพที่ประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ II - 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ

  4. ค่านิยมและแนวคิดหลัก: การพัฒนา

  5. ที่มาของข้อมูลผลลัพธ์ที่มาของข้อมูลผลลัพธ์

  6. มิติต่างๆ ของการวัดผล

  7. กรอบความคิดในการวิเคราะห์ข้อมูลกรอบความคิดในการวิเคราะห์ข้อมูล ทดลองจับคู่ตัวแปรมา 1 คู่ แล้วลองวิเคราะห์ข้อมูลดู

  8. ตัวชี้วัดต่อไปนี้ เป็นเพียงตัวอย่างเพื่อการเรียนรู้ ต้องการการวิเคราะห์ วิพากษ์ คัดเลือก ให้เหมาะสมกับบริบทและเป้าหมาย ของแต่ละโรงพยาบาล

  9. 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (Outcome – Overall Mortality Rate) CS = CareScience, the comparative sources of risk-adjusted database that provides outcomes for mortality, morbidity, length of stay (LOS), and charges. ดีสำหรับเปรียบเทียบของตัวเอง ไม่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงเท่ากับอัตราตายเฉพาะโรค ถ้าจะเปรียบกับคนอื่น ต้องมีการทำ risk-adjusted

  10. 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (Outcome-Mortalityby Diagnosis) แสดงผลลัพธ์ของความพยายามในการพัฒนาได้ดีกว่า เป็นการวัดที่ผลลัพธ์สุดท้าย อาจจะไม่ไวถ้าโรคนั้นมีอัตราตายต่ำ

  11. 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (Process-Evidenced based) Pneumonia Acute MI SSI

  12. 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (Outcome: Adverse Event)

  13. 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (Process-Evidenced based) The measures in Figure 7.1-9 were part of an organizational focus in 2004 and directly contribute to the mortality rates in Figures 7.1-3 & 7.1-4. The positive results are attributed to focused efforts through the cardiac SL, physician education, process enhancements for AMI and HF patients, as well as tracking and reporting of physician performance. For HF patients, there is a dedicated RN completing daily assessments of the plan of care and working with physicians to ensure compliance with best practice standards.

  14. 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (Process-Evidenced based)

  15. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CVS: Acute MI

  16. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Acute MI Mercy Health System MBNQA Winner 2007

  17. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Surgical Care Improvement Project Mercy Health System MBNQA Winner 2007

  18. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Surgical Wound Infection Mercy Health System MBNQA Winner 2007 ควรเลือกติดตามในการผ่าตัดที่มีความสำคัญ เช่น มีปริมาณมาก มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง

  19. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Diabetes Management Mercy Health System MBNQA Winner 2007

  20. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CVS: CABG

  21. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CVS: CHF

  22. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Trauma

  23. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tracheostomy

  24. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Craniotomy

  25. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Rehab

  26. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Pneumonia

  27. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Respiratory Dx with Vent

  28. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Fall & Restraint

  29. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Pregnancy VBAC Laceration Neonatal Morbidity

  30. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล DVT (before-after)

  31. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Readmission

  32. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Medication Error

  33. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Patient Safety Indicator

  34. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Publicly Report Indicators

  35. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Home Care

  36. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Home Care

  37. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Hospital Comparison

  38. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Composite Quality Score

  39. 2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน (ความพึงพอใจ) วิเคราะห์ตามหน่วยบริการ วิเคราะห์แนวโน้ม

  40. 2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน (ความพึงพอใจ) วิเคราะห์ตามผู้ให้บริการ

  41. 2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน (ความไม่พึงพอใจ) ควรรู้ว่าไม่พึงพอใจเรื่องอะไร

  42. 2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน (Perception Ranking)

  43. 2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน (Loyalty)

  44. 2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน (Loyalty)

  45. 3 ผลด้านการเงิน (Profit Margin)

  46. 3 ผลด้านการเงิน (Return on Assets)

  47. 3 ผลด้านการเงิน(เงินสดในมือ, current ratio)

  48. 3 ผลด้านการเงิน(ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย)

  49. 3 ผลด้านการเงิน(ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย) RWJUHH seeks to maintain FTE’s per adjusted occupied bed between the NJHCFFA Apollo median, and the NJHCFFA Apollo 75th percentile (the shaded bar in Fig. 7.3-6). AHRQ released a series of research studies that demonstrate a positive correlation between adequate staff ratio and higher quality outcomes.

  50. 4 (1) ประสิทธิผลของระบบงาน การคงอยู่ การได้คนทดแทน อัตราว่าง Turnover rate

More Related