1 / 9

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. สกม. วันที่ 8 ต.ค. 52. กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง. ◈ พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ◈ กฎหมายเกี่ยวกับการเงินการคลัง ◈ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ◈ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.

Télécharger la présentation

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สกม. วันที่ 8 ต.ค. 52

  2. กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง ◈ พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ◈ กฎหมายเกี่ยวกับการเงินการคลัง ◈ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ◈ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

  3. กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง • ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการเช่าซื้อที่ดิน พ.ศ. 2526 • ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการโอนและตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อที่ดินในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2535 • ระเบียบ คปก. ว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540 • ระเบียบ คปก. ว่าด้วยวิธีการและเงื่อนไขการให้กู้ยืมเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมแก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. 2536

  4. กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) • ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการอนุญาตและการให้ผู้รับอนุญาตถือปฏิบัติในการใช้ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์สำหรับกิจการที่เป็นการสนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2541 • ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีพิจารณาลดหรือยกเว้นการเก็บค่าเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2536 • มติ คปก. เกี่ยวกับการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  ครั้งที่ 5/2522 เมื่อ 14 พ.ค. 22 มี 2 เรื่อง - กำหนดหลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าเช่าที่ดิน - กำหนดค่าเช่าที่ดินพระราชทาน  ครั้งที่ 8/2523 เมื่อ 21 ส.ค. 23 เช่าที่ดินราชพัสดุ  ครั้งที่ 6/2525 เมื่อ 28 มิ.ย. 25 ค่าเช่าที่ดินเอกชนร้อยละ 3 ของราคาเฉลี่ย  ครั้ งที่ 1/2528 เมื่อ 31 ม.ค. 28 ให้นำมติที่ 6/25 มาใช้กับที่ดินบริจาค  ครั้งที่ 7/2536 เมื่อ 12 พ.ย. 36 ยกเลิกค่าปรับตามสัญญาเช่า/สัญญากู้ยืม

  5. ประเภทสัญญาที่เกี่ยวข้องกับกองทุนการปฏิรูปที่ดินฯประเภทสัญญาที่เกี่ยวข้องกับกองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ ค่าเช่าที่ดิน 3% รายได้เข้ากองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ สัญญาเช่าที่ดิน - เกษตร สัญญาเช่าซื้อที่ดิน-เกษตร ค่าเช่าซื้อเท่าจัดซื้อ + ด.บ.4% สัญญาเช่าที่ดิน - สนับสนุน ค่าเช่า คปก. กำหนด สัญญาเข้าทำประโยชน์-สนับสนุน ค่าตอบแทน คปก. กำหนด หนังสือยินยอม- ทรัพยากร ค่าตอบแทน ส่วนที่1 2%x ปี ส่วนที่ 2 ทุกครั้งที่นำแร่ออก หนังสืออนุญาต-สาธารณูปโภค ค่าทดแทนที่ดิน 3%ราคาประเมิน สัญญากู้ยืม ดอกเบี้ย

  6. ข้อคำนึงในการจัดทำสัญญาข้อคำนึงในการจัดทำสัญญา • คู่สัญญาต้องเป็นผู้คุณสมบัติตามระเบียบกำหนด • - สัญญาเช่าที่ดิน เป็นเกษตรกรที่ คปจ. คัดเลือก • - สัญญาเช่าซื้อที่ดิน เป็นเกษตรกรที่ คปจ.คัดเลือก /ผู้เช่าที่ดิน • - สัญญากู้ เกษตรกรที่ คปจ. คัดเลือก/สถาบันเกษตรกรที่จดทะเบียนตาม กม.สหกรณ์ • ต้องกรอกข้อมูลในแบบสัญญาให้ครบถ้วน เช่น วันที่ เดือน ปี เนื้อหาสาระต้องตรงตาม ระเบียบ /มติ คปก. กำหนด • ต้องมีการลงลายมือชื่อของคู่สัญญา กรณีใช้พิมพ์ลายนิ้วมือ ต้องมีพยานลงชื่อรับรอง 2 คน

  7. ข้อคำนึงในการจัดทำสัญญา(ต่อ)ข้อคำนึงในการจัดทำสัญญา(ต่อ) • ต้องมีการส่งมอบทรัพย์ตามสัญญา • ◆สัญญากู้ยืม ต้องส่งมอบเงินที่กู้แก่ผู้กู้ และให้ผู้กู้ลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน • กรณีจำเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมสาระสำคัญของสัญญา มี 2 วิธี • ♦ แก้ไขข้อความในสัญญา • - ต้องสำเนาหลักฐานที่มาของการแก้ไขมาแนบไว้กับสัญญา • - ให้นำสัญญาคู่ฉบับมาแก้ไข และต้องลงลายมือชื่อของคู่สัญญาในที่มีการแก้ไข ให้ครบถ้วนทุกแห่งที่มีการแก้ไข และต้องมีข้อความตรงกันทั้งต้นฉบับและคู่ฉบับ • ♦ ทำสัญญาแนบท้าย ตามแบบที่กำหนด • - ให้ผู้ค้ำประกันยินยอมเป็นหนังสือ (กรณีสัญญากู้ยืม) • สัญญาที่มีกำหนดระยะเวลา ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดโดยเคร่งครัด • ♦ สัญญากู้ยืม ให้แจ้งเตือนก่อนวันนัด 30 วัน /ให้มีหนังสือเร่งรัดชำระหนี้ • กรณีมีการผ่อนผันจะต้องกระทำก่อนวันกำหนดนัด ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

  8. การบังคับชำระหนี้ • ผู้กู้ /ผู้เช่าที่ดิน/ผู้เช่าซื้อ ผิดนัดชำระหนี้ +ไม่ได้รับการผ่อนผัน • ให้ ส.ป.ก.จังหวัด มีหนังสือแจ้งเตือน/เมื่อผู้กู้ผิดนัดจะเรียกให้เกษตรกรผู้ค้ำประกันมาชำระหนี้ได้ • ผู้กู้ผิดนัด 2 งวดติดต่อกันบอกเลิกสัญญา • เข้าสู่กระบวนการสิ้นสิทธิการเข้าทำประโยชน์ที่ดิน • บังคับชำระหนี้ตามป.พ.พ.

  9. การโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน(ตามสัญญาเช่าซื้อ)การโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน(ตามสัญญาเช่าซื้อ) • ผู้เช่าซื้อจ่ายค่าเช่าซื้อครบตามสัญญา • ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบหลักฐานการโอน/ตกทอดมรดกสิทธิ • ส.ป.ก. ได้รับหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแปลงที่เช่าซื้อแล้ว กรณีผลรังวัดต่างจากสัญญาให้คำนวณมูลค่าที่ดินตามเนื้อที่ใหม่(ปรับตามส่วน) • ผู้เช่าซื้อเป็นผู้จ่ายค่าธรรมเนียมโอน/ค่าภาษี/ค่ารังวัด • การจดทะเบียนในสารบัญจดทะเบียน ให้จดข้อห้ามตาม ม. 39 ว่า “ ที่ดินแปลงนี้ตกอยู่ในบังคับห้ามแบ่งแยก หรือโอนตามมาตรา 39แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518” ( หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0708/ว 9004 ลว. 2 พ.ค. 31)

More Related