1 / 24

เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology

เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology. รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา ภาควิชา สัตว ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์. Nutrition. Prebiotics สารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายไม่สามารถย่อยได้ เป็นอาหารของ Probiotic เช่น Oligosaccharide

armand-ryan
Télécharger la présentation

เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์

  3. Nutrition • Prebiotics • สารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายไม่สามารถย่อยได้ • เป็นอาหารของProbiotic • เช่น • Oligosaccharide • Fructoligosaccharideetc. Probiotics • จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์และสัตว์ • ทำหน้าที่ช่วยปรับสมดุลของจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร  เช่น • Lactic acid bacteria (LAB) • Bifidobacteriaetc.

  4. Nutrition Immunobiotics • เป็นProbioticsที่ช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันของสิ่งมีชีวิต Probiotics(ImmunobioticTM) Plus multivitamin with probiotics Supporing immune system

  5. Nutrition Xenobiotics • เป็นสารเคมีที่พบในสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น แต่ไม่ใช่สารที่ผลิตขึ้นในสิ่งมีชีวิตที่เราให้ไป • สารกระตุ้นการเติบโตในโคขุน (Clenbutorol), รวมถึง ยาบางชนิดหรือantibiotic ที่ไม่ได้ให้ในปริมาณที่ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย

  6. Nutrition Single Cell Protein (SCP) • โปรตีนเซลล์เดียว หรือ เป็นโปรตีนที่ผลิตได้จากจุลินทรีย์ • จุลินทรีย์จะมีการเจริญในลักษณะเป็นเซลล์เดียวหรือเส้นใยมากกว่าที่จะเจริญเป็นหลายเซลล์ที่ซับซ้อน • นำมาใช้เป็นแหล่งอาหารโดยตรงสำหรับมนุษย์ หรือเป็นอาหารสัตว์ ได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ รา และสาหร่าย

  7. Reproduction • Artificial insemination เพิ่มความก้าวหน้าทางพันธุกรรม(G) ผ่านทางพ่อพันธุ์เป็นหลัก

  8. Reproduction • In Vitro Fertilization (IVF)

  9. Reproduction Embryo transfer • เป็นการนำตัวอ่อนที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างตัวอสุจิของพ่อพันธุ์และไข่ของแม่พันธุ์ที่คัดเลือกไว้แล้วเก็บออกมาจากมดลูกของแม่พันธุ์ และนำไปฝากใส่ไว้ให้เติบโตในมดลูกของตัวเมียอีกตัวหนึ่งจนคลอด

  10. ตัวให้ X ตัวรับ Multiple Ovulation and Embryo Transfer (MOET) Reproduction

  11. Reproduction • Cloning กระบวนการสร้างสิ่งที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันกับสิ่งที่มีอยู่ก่อน ทำได้ 2 วิธี ได้แก่ 1. การแยกเซลล์หรือตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว (blastomere separation or embryo bisection) 2. การย้ายฝากนิวเคลียส (nuclear transfer or nuclear transplantation)  

  12. Recombinant Hormone • Peptide Hormone ที่สร้างโดยใช้กระบวนการ genetic engineering ตัดต่อยีนลงในในแบคทีเรีย (E.coli) จากนั้นให้แบบทีเรียเป็นตัวผลิตให้ • เช่น Bovine Growth hormone (Bovine somatotropin, BST) • ฉีดให้โคนมเดือนละ 2 ครั้ง ช่วยเพิ่มน้ำนม

  13. Breeding • Transgenic animal

  14. Breeding Gene markers • Marker Assisted Selection (MAS) • การใช้เครื่องหมายพันธุกรรมช่วยในการคัดเลือก ให้สัตว์มีพันธุกรรมตามที่ต้องการ • RFLP • RAPD • AFLP • Microsatellite • SSCP • SNPs

  15. Breeding เทคนิค PCR • เป็นเทคนิคการเพิ่มชิ้นยีน(หรือดีเอ็นเอ) ที่ต้องการด้วยเครื่องมือเฉพาะเรียกThermal cycler (นิยมเรียกง่ายๆว่าเครื่อง PCR)

  16. PCR-RFLP Breeding • ขั้นตอนที่ 1 ตรวจหายีนที่ต้องการจาก DNA ของสัตว์ด้วยวิธี PCR • ขั้นตอนที่ 2 นำยีนที่ได้มาตัดด้วยเอ็นไซม์ สัตว์ปกติ/ไม่ปกติ จะได้รูปแบบต่างกัน

  17. Breeding มียีนเครียดแฝงอยู่ ปกติ เครียดง่าย ตรวจสอบยีนต้านทานโรค/ความผิดปกติทางพันธุกรรม ยีนเครียดในสุกร สัตว์ปกติ/เครียดง่าย เมื่อใช้เอ็นไซม์ตัดแล้วจะได้รูปแบบต่างกัน N = ปกติ n = เครียดง่าย 600bp 400bp 200bp Nn NN Nn Nn nn nn NN NN Nn NN Nn nn nn nn Nn nn

  18. Breeding ยีนที่มีการศึกษาและทดสอบแล้ว • HAL Halothane gene (ยีนเครียดในสุกร) • IGF2(%เนื้อแดง) • Estrogen Receptor (ยีนลูกดกในสุกร) • MC4R (%ซากสุกร) • Napole(นุ่มเนื้อในสุกร) • BoLA(ยีนต้านทานโรคเต้านมอักเสบ) • Kappa casein gene (ยีนโปรตีนและน้ำนม)

  19. 1% Chr.w QTL linked marker Breeding SSC1 MARBLING Line-Cross QTL position 4.5 4.0 3.5 -logP 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 cM 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก = gene marker

  20. Breeding

  21. Breeding Genetic diversity • การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต • Phylogenetic tree • Dendogram

  22. Breeding การจำแนกชนิดของปลา ศึกษาวิวัฒนาการ

  23. Breeding จำแนกแมลงต่างๆ

  24. The End…

More Related