1 / 31

สรุปความเห็นจากแบบสอบถาม 90 สถาบันปฏิบัติงานแพทย์เพิ่มพูนทักษะ

สรุปความเห็นจากแบบสอบถาม 90 สถาบันปฏิบัติงานแพทย์เพิ่มพูนทักษะ. จำนวนโรงพยาบาลที่ตอบแบบสอบถาม (n = 90). ระยะเวลาปฏิบัติงาน ศัลยกรรมกระดูก 1 เดือน. เห็นด้วย. 95.6%. ระยะเวลาปฏิบัติงาน อายุรกรรม 3 เดือน. เห็นด้วย. 94.4%. ระยะเวลาปฏิบัติงาน กุมาร 2 เดือน. เห็นด้วย. 94.4%.

armina
Télécharger la présentation

สรุปความเห็นจากแบบสอบถาม 90 สถาบันปฏิบัติงานแพทย์เพิ่มพูนทักษะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปความเห็นจากแบบสอบถาม 90 สถาบันปฏิบัติงานแพทย์เพิ่มพูนทักษะ

  2. จำนวนโรงพยาบาลที่ตอบแบบสอบถาม (n = 90)

  3. ระยะเวลาปฏิบัติงาน ศัลยกรรมกระดูก 1 เดือน เห็นด้วย 95.6%

  4. ระยะเวลาปฏิบัติงาน อายุรกรรม 3 เดือน เห็นด้วย 94.4%

  5. ระยะเวลาปฏิบัติงาน กุมาร 2 เดือน เห็นด้วย 94.4%

  6. ระยะเวลาปฏิบัติงาน ศัลยกรรม 2 เดือน เห็นด้วย 93.7%

  7. ระยะเวลาปฏิบัติงาน สูตินรีเวช 2 เดือน เห็นด้วย 93.3%

  8. ระยะเวลาปฏิบัติงาน เวชปฏิบัติ 2 เดือน เห็นด้วย 82.2%

  9. ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วยกับ การปฏิบัติงานเวชปฏิบัติ 2 เดือน • ผ่าน 1 เดือน พอ (n=3) • ควรอยู่ที่สถาบันฝึกปฏิบัตินั้น (n=1) • ควรผ่าน 2.5 เดือน (n=1) • วิชาเลือกแค่ 1 เดือนก็พอแล้ว (นศพ.ผ่านวิชาเลือกมาหลายครั้งแล้ว) ควรผ่าน ER Eye ENT แทน (n=1) • ไม่ระบุ (n=1) • ไม่ต้องผ่าน (n=1) • ปฏิบัติงานอุบัติเหตุที่ รพ.เพิ่มพูนทักษะแทน (n=1) • ไม่ควรผ่าน เพราะต้องออกปฏิบัติงานในปีที่ 2 อยู่แล้ว ทำให้เสียเวลา • การได้เพิ่มพูนทักษะภายในสถานที่มีผู้ให้การปรึกษา (n=1)

  10. เห็นด้วยทุกข้อ ตามที่กำหนด (อายุร 3 ศัลย 2 กระดูก1 สูติ 2 กุมาร 2 ทั่วไป 2) 29% (n = 64) 71% เห็นด้วย

  11. ระยะเวลาปฏิบัติงาน อยู่เวรไม่มากกว่า 15 เวร/เดือน เห็นด้วย 79%

  12. ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วยกับอยุ่เวรไม่มากกว่า 15 เวร/เดือน • 10-12 เวร/เดือน (n = 1) • 15 วัน (ไม่ใช่ 15 เวร) (n = 1) • 20 เวร/เดือน (n = 1) • ตามความเหมาะสมและสมัครใจของแพทย์เพิ่มพูนทักษะ (n = 1) • ไม่เกิน 10 เวร/เดือน (n = 1) • ไม่มากกว่า 20 เวร/เดือน (n = 1) • อาจยืดหยุ่นได้ (n = 1) • ไม่ระบุความเห็น (n = 3)

  13. การกำหนดจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ 15 เตียง/ แพทย์ พพท.1 คน หรือ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ/ แพทย์ พพท. 1 คน ค่าที่ต่ำกว่า ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย 76.7%

  14. ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วย กับ การคำนวนจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ • 1. จำนวนเตียง 10 เตียงต่อแพทย์เพิ่มพูน 1 คน • 2. แพทย์ผู้เชียวชาญ แต่ละสาขา 1 คน ต่อแพทย์เพิ่มพูนทักษะ 2 คน (n=1) • การคิดจาก จำนวนเตียงผู้ป่วยใน ควรคิดจากจำนวนภาระงานจริง ๆ (n=1) • กำหนด พชท จำนวนผู้ป่วยใน และความเหมาะสมของสถานที่ว่าสามารถ • รับได้เท่าใด การคำนวนจากจำนวนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถได้ ตัวเลขแท้จริง เพราะไม่ได้ service ทุกคน (n=1) • ควรถามความต้องการแต่ละรพ เพราะบางแห่งมีปริมาณงานสูง แต่แพทย์ เชี่ยวชาญไม่เพียงพอ เมื่อให้ Intern น้อย ก็จะยิ่ง load งานมาก • ขึ้น (n=1) • ควรเป็นค่าที่สูง (n=1)

  15. ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วย กับการคำนวนจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ (ต่อ) • ควรพิจารณาจากขนาดสถานะรพ.ด้วย เช่น รพ.ศูนย์มีความพร้อมกว่า • เพิ่มจำนวนได้ (n=1) • ควรเลือกค่าที่สูงกว่า (n=1) • ความขาดแคลนแพทย์ของ รพ. ความสามารถในการดูแลของแพทย์พี่เลี้ยง (n=1) • ค่าเฉลี่ยของ จำนวนเตียง และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ (n=1) • ค่าเฉลี่ยที่ต่ำของจำนวนผู้ป่วยในจริง หรือจำนวนเตียงแต่ละสาขา 20เตียง/แพทย์ ใช้ทุน 1คน (n=1) • คิดเฉพาะจำนวนเตียง (เพราะ จำนวนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ไม่ใช่ปัจจัยที่สำคัญ เพราะ รพท.จะมีขนาดคงที่อยู่แล้ว) (n=1) • จำนวนเตียงผู้ป่วยใน (n=1)

  16. ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วย กับ การคำนวนจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ (ต่อ) • น่าจะคิดตามจำนวนเตียง และแพทย์ผู้เชียวชาญ (n=1) • คิดตาม GIS ของประชากร เทียบกับแพทย์ที่ขาดแคลนและประเมินโรงพยาบาล ในพื้นที่ ขาดแคลนว่ามีศักยภาพ ดูแลแพทย์เพิ่มพูนได้กี่ท่าน (n=1) • พิจารณาความพร้อมของ staff ผู้บริหาร case ที่จะได้เรียนรู้ เช่น รพ. สมเด็จพระสังฆราชฯ มีศัลยกรรม 1 ท่าน แต่มีสูติแพทย์ และ ortho หลายท่าน พร้อมสอน gen surgery ได้ (n=1) • เพิ่มหัวข้อเรื่องภาระงาน จำนวนผู้ป่วยที่รับจริง มาพิจารณาร่วมด้วย (n=1) • ระบุสิ่งที่ควรเป็น ควรมีค่าขั้นต่ำของแพทย์เพิ่มพูนทักษะในแต่ละรพ.ตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป เนื่องจากต้องมีการออกสู่รพ.ชุมชนทำให้หากมี พชท.น้อยจะมี ผลกระทบต่อการจัดทำ วิชา การของ พชท.ที่จะมีการเข้าร่วมน้อยเกินไป (n=1)

  17. ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นว่า ห้องสมุดไม่ค่อยมีความจำเป็น เพราะ Internet สืบค้นได้ดีกว่า 63.3% 35.7%

  18. ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นว่า โครงการแพทย์เพิ่มพูนทักษะ มีเพื่อ ...

  19. ความเห็นอื่น เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ โครงการแพทย์เพิ่มพูนทักษะ • medical society (n=1) • เนื่องจากโรงเรียนแพทย์ใหญ่ ๆ ในปัจจุบัน caseค่อนข้างซับซ้อนไม่เหมาะสำหรับฝึก Residentหรือ Fellowมากกว่าทำให้มีประสบการณ์ในการทำงานทางคลินิก ค่อนข้างน้อย (n=1) • เป็นการฝึกที่อยู่ในการควบคุมของแพทย์ประจำอยู่ทำให้แพทย์ได้ปรับตัวอยู่ 1 ปี หลังจากไป จากโรงพยาบาลแพทย์ (n=1) • เป็นการรู้จักแพทย์เพิ่มพูนทักษะ เพื่อประกอบการพิจารณาให้ทุนเรียนต่อ (n=1) • เพื่อรับรองการฝึกอบรมแพทย์พี่เลี้ยงและสอนวุฒิบัตร ในสาขา ต่าง ๆ (n=1) • มีโอกาสได้สังเกตการณ์และทบทวนความรู้วิชามากกว่าในรพ.ทั่วไป เนื่องจากมีกิจกรรม วิชาการที่มากกว่า (n=1) • เรียนรู้ความเป็นแพทย์ในชีวิตจริง (n=1) • สนิทสนมแพทย์ในรพ.ทั่วไป และทำงานร่วมกัน เมื่อพ้นเพิ่มพูนทักษะแล้วไปปฏิบัติงานในรพ. ชุมชนจะได้ปรึกษา ส่งต่อผู้ป่วย และให้บริการที่ดี (n=1) • เสริมสร้าง วุฒิภาวะ และ Maturityของแพทย์ (n=1)

  20. เมื่อผ่านโครงการแพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรทำหัตถการต่อไปนี้ได้ด้วยตนเอง

  21. ลำดับความสำคัญของกิจกรรมทางวิชาการลำดับความสำคัญของกิจกรรมทางวิชาการ ลำดับที่

  22. กิจกรรมทางวิชาการอื่นๆกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ • MM conf (n=4) • dead case conf consultation round (n=1) • Death care conference (n=2) • Inter-department , referral conf (n=1) • Interdepartmental MM Conf (n=1) • skill lab (n=1)

  23. ทักษะทั่วไป ของแพทย์เพิ่มพูนทักษะ ที่ควรมี ..

  24. จาก 90 โรงพยาบาล เห็นว่าแพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป

  25. โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป

  26. โรงพยาบาลระดับศูนย์ เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป

  27. โรงพยาบาลระดับทั่วไป เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป

  28. โรงพยาบาลทั่วไป เสนอว่า ควรฝึก ณ สถานที่.. • รพ.ชุมชน (n=3) • รพ.ชุมชนขนาด 60 เตียงขึ้นไป(n=1)

  29. โรงพยาบาลชุมชน เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป

  30. โรงพยาบาลชุมชนเสนอว่า ควรฝึก ณ สถานที่ .. • รพ.ชุมชน ขนาดใหญ่ ที่มีศักยภาพเพียงพอ (n=1) • โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ที่มีแพทย์เฉพาะทาง สาขาหลักครบและมีความพร้อมด้านบุคลากร เครื่องมือ เวชภัณฑ์ (n=1) • โรงพยาบาลชุมชนมีศักยภาพเพียงพอ(n=1)

  31. โรงพยาบาลสังกัดกลาโหม เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป

More Related