1 / 28

สารฆ่าแมลง ( Insecticide )

สารฆ่าแมลง ( Insecticide ). วศิน เทพเนาว์ กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง. มาทำความรู้จักกับสารฆ่าแมลงกัน. สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ( Pesticide ) ในอดีต แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สารฆ่าวัชพืช ( Herbicide ) สาฆ่าแมลง ( Insecticide ) สารฆ่ารา ( Fungicide ).

art
Télécharger la présentation

สารฆ่าแมลง ( Insecticide )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สารฆ่าแมลง (Insecticide) วศิน เทพเนาว์ กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง

  2. มาทำความรู้จักกับสารฆ่าแมลงกัน....มาทำความรู้จักกับสารฆ่าแมลงกัน.... • สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ (Pesticide) ในอดีต แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ • สารฆ่าวัชพืช (Herbicide) • สาฆ่าแมลง (Insecticide) • สารฆ่ารา (Fungicide)

  3. สารฆ่าแมลง หมายถึง สารเคมีเป็นพิษซึ่งแสดงผลในการกำจัดหรือป้องกันแมลง อาจเป็นสารประกอบทางเคมีที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือสารเคมีที่ได้จากธรรมชาติ รวมถึงจุลินทรีย์เชื้อโรคแมลงด้วย

  4. 1. วิธีการกำจัดหรือควบคุมยุงพาหะนำโรค • วิธีทางกายภาพ (Physical control) • วิธีทางชีวภาพ (Biological control) • วิธีทางเคมีภาพ (Chemical control) Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  5. ประวัติการใช้สารฆ่าแมลงประวัติการใช้สารฆ่าแมลง • 500 ปีก่อนพุทธศักราช นำกำมะถันผงใช้เป็นสารรมควันป้องกันแมลง • พ.ศ. 600-700 นำสารประกอบอาร์ซีนิกเป็นสารฆ่าแมลง • พ.ศ.2200-2300 เริ่มนำสารจากพืชมาใช้ เช่น นิโคติน โรติโนน และไพรีทรัม • ปัจจุบัน

  6. การจำแนกกลุ่มของสารเคมีการจำแนกกลุ่มของสารเคมี 1. Organochlrorine (OC)เป็นกลุ่มสารเคมีที่มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และ คลอรีน เป็นสารฆ่าแมลงที่ปัจจุบันเลิกใช้ไปจนเกือบหมดแล้ว ในอดีตตัวอย่างสาร คือ DDTAldrinBHC และEndosulfan* *Endosulfan เป็นสารตัวเดียวที่ยังมีการนำมาใช้ในสหรัฐอเมริกา

  7. 2. Organophosphateเป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มใหญ่ที่มีจำนวนชนิดของสารออกฤทธิ์มากที่สุด องค์ประกอบมี ฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบหลัก ตัวอย่างสาร Malathion Fenitrothion Pyrimephos-methyl และ Temephos

  8. 3. Cabamate เป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มเล็ก ประมาณ 20 ชนิดสาร เป็นสารที่มีองค์ประกอบเป็นเอสเทอร์ของกรดคาร์บามิก ประโยชน์ของสารกลุ่มนี้ คือ มีประสิทธิภาพสูงมากในการกำจัดแมลง แต่มีข้อเสียที่สำคัญคือ เป็นพิษต่อสัตว์เลือดอุ่นสูง จึงไม่เป็นที่นิยมใช้ ตัวอย่างสาร Cabaryl PropoxurCabofuran Aldicarb และ Methomyl

  9. 4. Pyrethroid เป็นสารฆ่าแมลงที่สังเคราะห์จากผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ แต่มีข้อเสียที่สำคัญคือมีพิษต่อสัตว์ที่มีประโยชน์ เช่น ผึ้ง ปลา และศัตรูธรรมชาติ และเป็นสาเหตุที่สำคัญที่ทำให้แมลงสร้างความต้านทานได้เร็ว ตัวอย่างสาร Permethrin Deltamethrin Cypermethrin Cyfluthrin และAllerthrin

  10. 5. กลุ่มอื่นๆ 5.1 สารคล้ายฮอร์โมนและยับยั้งฮอร์โมน เช่น Methoprene (JH-Analogue) 5.2 สารจากจุลชีพ เช่น Bti 5.3 ไส้เดือนฝอย

  11. ชื่อการค้า ชื่อสามัญ ชื่อเคมี สารฆ่าแมลง

  12. การใช้สารฆ่าแมลงในประเทศไทยการใช้สารฆ่าแมลงในประเทศไทย นำเข้ามาจากประเทศต่างๆ กว่า 20 ประเทศ เช่น USA เยอรมัน สวิตเซอร์แลนด์ จีน และญี่ปุ่น เป็นต้น

  13. 2. วัตถุประสงค์ของการใช้สารเคมีควบคุมแมลงพาหะ 2.1 เพื่อยับยั้งการระบาดของโรค 2.2 เพื่อป้องกันการระบาดของโรค 2.3 การใช้ร่วมกับวิธีการอื่นเพื่อผสมผสาน ในการควบคุมแมลงพาหะ Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  14. 3. แนวทางการเลือกใช้สารเคมี 3.1 ระดับความเป็นพิษ Lethal dose50 …………..mg/body weight 90 100 Oral L.D Dermal L.D Inhalation L.C……………….mg/1 L air 3.2 เลือกสารฆ่าแมลงที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  15. 3.3 เลือกสารเคมีที่มีประสิทธิภาพดีต่อแมลงเป้าหมาย 3.4 เลือกใช้สูตร (formulation) และความเข้มข้น ( concentration) ที่เหมาะสมกับแมลง และชนิด ของเครื่องพ่นสารเคมี 3.5 เลือกผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากถูกต้อง Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  16. การนำไปใช้ (ผสมตามข้อกำหนดของสารเคมีนั้น ๆ ) ทางเกษตร ใช้ได้เลย ทางสาธารณสุข ต้องกำจัดสารที่อาจมีอันตราย ภาพแสดงส่วนผสมที่มีในสารเคมี จากการผลิต ตัวทำละลาย ส่วนผสมอื่น ๆ สารออกฤทธิ์ที่ต้องการ Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  17. การแสดงปริมาณ/น้ำหนักสารเคมีการแสดงปริมาณ/น้ำหนักสารเคมี % = 100 ส่วน 1 % หมายถึง 100 ส่วน มีสารออกฤทธิ์ 1 ส่วน 10 % หมายถึง 100 ส่วน มีสารออกฤทธิ์ 10 ส่วน 10 % V/V ปริมาณสารออกฤทธิ์ 10 ส่วนใน 100 ส่วน 10 c.c. ใน 100 c.c. 10 % W/V ปริมาณสารออกฤทธิ์ 10 gm 100 c.c. 10 % W/W ปริมาณสารออกฤทธิ์ 10 gm 100 gm Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  18. ตัวอย่าง Deltacide ประกอบด้วย 1. Deltamethrin 0.5 % W/V 2. Esbioallarthrin 10 % W/V 3. Piperonyl butoxide 17 % W/V คิดเฉพาะสารหลักในการคำนวณอัตราผสมว่า Deltacide มี Deltamethrin 0.5 % W/V 100 c.c. Deltacide มีสารออกฤทธิ์ 0.5 gm. Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  19. 4. การใช้สารเคมีควบคุมโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยในอดีต 4.1 Malathion 96 % premium grade * 4.2 Sumithion L 40 S (Fenitrothion 40 % + 1 % Tetramethrin W/V) 4.3 Pirimiphos methyl 50 EC 4.4 Deltacide (Deltamethrin 0.5 % + piperonyl butoxide 10 % + S) 4.5 Resigen (Permethrin 17 % + S bioallethrin 0.75 % + piperony) 4.6 Sumithion Neo Fogging Z2 % Fenitrothion + 0.05 % Tetramethrin W/V) Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  20. 4.7 1.6 % Pirimiphos methly W/V 4.8 Icon 2.5 EO (Lambda cyhalothrin ) 4.9 Perpel หรือ Perigen (Permethrin 10 % W/V ) 4.10 ทรายอะเบท (Abate 1 % S.G) 4.11 Diazinon 60 EC 4.12 Cislin 10 Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  21. Malathion อัตราการใช้ 100 - 500 gm-ai/hectare Fenitrothion อัตราการใช้ 100 - 500 gm-ai/hectare Naled อัตราการใช้ 56 - 280 gm-ai/hectare Pirimiphos - methyl อัตราการใช้ 100 - 500 gm-ai/hectare 5. สารเคมีควบคุมโรคไข้เลือดออกที่แนะนำให้ใช้ในปัจจุบัน  ออร์กาโนฟอสเฟต Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  22. Deltamethrin อัตราการใช้ 0.5 - 1.0 gm-ai/hectare Resmethrin**อัตราการใช้ 7 - 16 gm-ai/hectare Bioresmethrin**อัตราการใช้ 5 - 10 gm-ai/hectare Permethrin**อัตราการใช้ 5 - 10 gm-ai/hectare Cypermethrin**อัตราการใช้ 2 - 8 gm-ai/hectare Lambda - cyhalothrin อัตราการใช้ 0.5 - 2.0 gm-ai/hectare * ข้อมูลจาก PAHO 1982 ,WHO 1984 ** สารเคมีที่ยังไม่เคยใช้ในงานควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ผ่านมา 5. สารเคมีควบคุมโรคไข้เลือดออกที่แนะนำให้ใช้ในปัจจุบัน(ต่อ)  ไพรีทรอยต์ Prepared by นิภา น้อยเลิศ

  23. ข้อควรระวังในการเลือกใช้สารเคมีข้อควรระวังในการเลือกใช้สารเคมี • สารเคมีที่ใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย ต้องมีสารเคลือบความตึงผิวผสมอยู่ด้วย (ชื่อการค้า จะมีคำว่า “อะควา” อยู่หน้าหรือต่อท้ายชื่อ) • สารเคมีสูตรน้ำ ไม่แนะนำให้ใช้กับเครื่องพ่นหมอกควัน ยกเว้นเครื่องพ่นที่มีอุปกรณ์เสริมเฉพาะการพ่นสูตรน้ำ • ไม่แนะนำให้ใช้สารเคมี ที่มี Permetrin เป็นสารออกฤทธิ์ เพราะยุงลายในพื้นที่ เขต 14 ดื้อต่อสารเคมีชนิดนี้

  24. การสร้างความต้านทานของแมลงการสร้างความต้านทานของแมลง • กลไกทางพฤติกรรม • กลไกทางสรีระวิทยา • กลไกทางชีวเคมี

  25. 25% จะถูกเป้าหมาย ปลา นก 75% ????? ศัตรูธรรมชาติ อันตรายจากการใช้สารฆ่าแมลง • อันตรายต่อมนุษย์ • อันตรายต่อสิ่งมีชีวิตนอกเป้าหมาย การตกค้างของสารฆ่าแมลงในสิ่งแวดล้อม ห่วงโซ่อาหาร

  26. ตัวอย่างของการ DDT -ตกค้างในสิ่งแวดล้อมนาน สลายตัว 50% ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 3-10 ปี สลายตัว 95% ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 4-30 ปี -ในสัตว์น้ำ พบว่า DDT จะสะสมในเนื้อเยื่อสูงถึง 70,000 เท่า ของDDT ในน้ำทะเล

  27. ตัวอย่างของการตกค้างของสารฆ่าแมลง DDT -ทำให้มีผลต่อการเจริญเติบโตของนก การวางไข่ลดลง อัตราส่วนของน้ำหนักเปลือกต่อความยาวของไข่ลดลง 2.4 ppm ทำให้ความหนาของเปลือกไข่ลดลง 10% -สะสมในชั้นไขมันของมนุษย์นาน 10 ปี จึงจะสลายตัวเหลือ 50% -ยังทำให้หนูทดลองเป็นมะเร็ง และเป็นที่สงสัยว่าจะเกิดมะเร็งกับมนุษย์ได้

  28. ขอบคุณครับ สวัสดี

More Related