1 / 65

ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด แผนการตรวจราชการ รอบ 7 เดือน (ตุลาคม 255 5 – เมษายน 255 6 )

ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด แผนการตรวจราชการ รอบ 7 เดือน (ตุลาคม 255 5 – เมษายน 255 6 ). การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค. คณะที่ 1. กลุ่มเด็กและสตรี. 101 ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด จำแนกรายโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56). ร้อยละ. เกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 5.

arty
Télécharger la présentation

ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด แผนการตรวจราชการ รอบ 7 เดือน (ตุลาคม 255 5 – เมษายน 255 6 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด แผนการตรวจราชการ รอบ 7 เดือน (ตุลาคม 2555 – เมษายน 2556)

  2. การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค คณะที่ 1

  3. กลุ่มเด็กและสตรี

  4. 101 ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอดจำแนกรายโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) ร้อยละ เกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 5 ที่มา : รง.เฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก

  5. 102 ร้อยละของทารกแรกเกิดขาดออกซิเจนระหว่างคลอดจำแนกรายโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน ร้อยละ ที่มา : รง.เฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก

  6. 103 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ร้อยละ ที่มา : รง.เฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก และทะเบียนหญิงคลอด

  7. 104 ร้อยละของคลินิกฝากครรภ์คุณภาพ 105 ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ 106 ร้อยละของ WCC คุณภาพ อยู่ระหว่างการประเมิน

  8. 107 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ร้อยละ ที่มา : รง.เฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก และทะเบียนหญิงคลอด

  9. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ได้รับยาเม็ด • เสริมไอโอดีน • ร้อยละของ หญิงหลังคลอด ได้รับการดูแล • ครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูล

  10. 110 ร้อยละของเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือนมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวจำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-มี.ค.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ ที่มา : รง.400

  11. 111 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดจำแนกรายโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส 1-2) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ร้อยละ ที่มา : รง.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน

  12. 112 ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส1-2) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : รง.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน

  13. 113 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนจำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส1-2) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ร้อยละ ที่มา : รง.เฝ้าระวังการเจริญเติบโต

  14. 114 ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ/มีพัฒนาการสมวัยจำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส1-2) ร้อยละ เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ที่มา : รง.การตรวจประเมินพัฒนาการ

  15. 115.1 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก จำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ร้อยละ ที่มา : กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

  16. 115.2 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันจำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ร้อยละ ที่มา : รง.กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

  17. 115.3 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับFluoline Vanish จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ ที่มา : รง.กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

  18. กลุ่มเด็กปฐมวัย

  19. 116 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามแบบอนามัย55/พบว่ามีพัฒนาการปกติตามเกณฑ์ทุกข้อจำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส 1 -2) ร้อยละ เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ที่มา : รง.การตรวจประเมินพัฒนาการ

  20. 117 ร้อยละ ของเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ จำแนกรายเครือข่ายบริการ ปี 2554-2555 ร้อยละ เกณฑ์ ไม่เกิน ร้อยละ 57 ที่มา : จากการสุ่มสำรวจของกลุ่มงานทันตสาธารณสุข

  21. 118 ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (เกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70) อยู่ระหว่างดำเนินการ

  22. 119.1 ร้อยละของเด็ก 3 ปี ได้รับวัคซีน JE 3จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส 1 -2) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : รง.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน

  23. 119.2 ร้อยละของเด็ก 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 OPV5จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส1-2) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : รง.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน

  24. 120 ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการและมีพัฒนาการสมวัย จำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ไตรมาส 1-2) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละ ที่มา : รง.การตรวจประเมินพัฒนาการ

  25. กลุ่มเด็กวัยเรียน วัยรุ่น

  26. 122 ร้อยละของเด็กนักเรียน (6-12 ปี) ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ดำเนินการ เปิดเทอม 123.1 ร้อยละของเด็กนักเรียน ป.1 ได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปาก (เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85) ดำเนินการ เปิดเทอม 123.2 ร้อยละของเด็กนักเรียน ป.1 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 1(เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30) ดำเนินการ เปิดเทอม

  27. 124.1 ร้อยละของเด็กนักเรียน ป.1 ได้รับวัคซีนMMR (เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95) ดำเนินการ เปิดเทอม 124.2 ร้อยละของเด็กนักเรียน ป.6 ได้รับวัคซีน dT (เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95) ดำเนินการ เปิดเทอม

  28. 125 ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม จำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2555 (ปี56 สำรวจ มิ.ย.-ก.ค.) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ร้อยละ ที่มา : จากกลุ่มงานทันตสาธารณสุข

  29. 126 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา (เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) ผลการสำรวจ ปี 55 ร้อยละ 37 127 ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ อยู่ระหว่าง ประเมินตนเอง

  30. กลุ่มวัยทำงาน

  31. 128 ร้อยละของสตรีอายุ 30-60 ปีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองจำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละ ที่มา : กลุ่มงานควบคุมโรค

  32. 129 ร้อยละของสตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก(สะสม)จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละ ที่มา : กลุ่มงานควบคุมโรค

  33. 130 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จ.อุทัยธานี ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ระยะ 1และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผิดปกติ (14ราย) 0.42% เป็นมะเร็ง 14 ราย ไม่ได้ระบุ Stage9 ราย ผิดปกติ 0.56% เป็นมะเร็ง 6 ราย

  34. 131 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามีได้รับการวางแผนครอบครัวทุกประเภท จำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ข้อมูล ณ มีนาคม) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละ ที่มา : Data Center

  35. 132.1 ร้อยละของปชก.อายุ 15 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : คลังข้อมูล NCD

  36. 132.2 ร้อยละของปชก.อายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำแนกราย CUPปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : คลังข้อมูล NCD

  37. 133 ร้อยละของ ผู้ป่วยเบาหวาน ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ ที่มา : คลังข้อมูล NCD

  38. 134 ร้อยละของผู้ป่วย HT ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ร้อยละ ที่มา : คลังข้อมูล NCD

  39. 135 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลรักษา / ส่งต่อ ร้อยละ 100

  40. กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ

  41. 137 ร้อยละของผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงบริการ(เกณฑ์ ร้อยละ 31) ร้อยละ 45.15 138 ร้อยละของผู้สูงอายุ/ผู้พิการ ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80) อยู่ระหว่างดำเนินการ

  42. 139.1 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองเบาหวานจำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : NCD คลัง

  43. 139.2 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงจำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-เม.ย.56) เกณฑ์ ร้อยละ 90 ร้อยละ ที่มา : NCD คลัง

  44. 140 ร้อยละของคลินิกสูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ(เกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70) อยู่ระหว่างดำเนินการ

  45. สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ • ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพปลอดบุหรี่ • (เกณฑ์ ร้อยละ 100) ร้อยละ 100 142 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เกณฑ์ ร้อยละ 90) ร้อยละ 100

  46. 143 ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เกณฑ์ ร้อยละ 90) ร้อยละ 88 144 ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุภาชนะพร้อมจำหน่ายได้รับอนุญาตตาม Primary GMP (ของผู้ที่มายื่นขออนุญาต) (เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) อยู่ระหว่างดำเนินการ

  47. 145 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) อยู่ระหว่างดำเนินการ

  48. คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

  49. 201 สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก HT ที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต.เทียบกับผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมดในพื้นที่จำแนกราย CUP ปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.55-มี.ค.56) เกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ ที่มา :

  50. 202 มีระบบพัฒนา Service Plan ที่มีการดำเนินการได้ตามแผน ระดับ 1 2 3 4 อย่างน้อย 4 สาขา และตัวชี้วัดอื่น (6 สาขา)ตามที่กำหนด จ.มีแผน/มีการบริหารจัดการพัฒนาศักยภาพระบบบริการของเครือข่าย 203 ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม.ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด (เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 1 แห่ง

More Related