1 / 16

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change)

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change). การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 มิถุนายน 2548. ตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม. แบบฟอร์มที่ 5: แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด / ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ

Télécharger la présentation

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2มิถุนายน 2548

  2. ตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์มตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม

  3. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  4. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  5. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรให้มีความปลอดภัยได้มาตรฐาน GAP • พันธุ์พืชที่แข็งแรงมีภูมิต้านทานโรคดีและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม • เกษตรกรมีคุณภาพมีความสามารถในการเพาะปลูกและเข้าใจในมาตรฐาน GAP • เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ดีและมีประสิทธิภาพ • ความสำเร็จในการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ • คุณภาพของดินและปริมาณน้ำที่เพียงพอ - การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร - การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ 1. เกษตรกร กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)

  6. แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 1........... 2........... 3........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... ตัวอย่าง • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเทคโนโลยีทางการเกษตร • การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การตรวจและออกใบรับรองแหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐาน • การบริหารจัดการแหล่งน้ำ การประชาสัมพันธ์โครงการและการรับจดทะเบียนฟาร์ม การฝึกอบรมกระบวนการผลิตพืชตามหลักเกษตรดีที่เหมาะสม (ผู้ตรวจรับรองแปลง) ฝึกอบรมที่ปรึกษาเกษตรกร (GAP อาสา) ฝึกอบรมและให้คำแนะนำแก่ฟาร์มสมาชิก การตรวจรับรองแหล่งผลิตพืช (หน่วยต่อแปลง) การออกเอกสารรับรอง • มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: • - ผลการวิจัยและพัฒนา • - แหล่งและปริมาณน้ำความต้องการและประสิทธิภาพในการใช้น้ำ • - ผลผลิตแยกตามชนิดและแหล่งเพาะปลูก • - แหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐานGAP และรายละเอียดข้อมูลการออกใบรับรองเป็นต้น • พัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ: • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช • เทคโนโลยีทางการเกษตรเป็นต้น T H กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)

  7. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  8. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร/ ประชาชนในชุมชนมีรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น • ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการของตลาด • ผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพดีและมีปริมาณที่เหมาะสมเพื่อเป็นวัตถุดิบในการแปรรูป • ผู้ประกอบการที่มีความสามารถความพร้อมและเทคโนโลยีการแปรรูปที่มีประสิทธิภาพ - การสำรวจความต้องการของตลาดและสภาพการแข่งขัน - การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ตรงกับความต้องการของตลาด - การส่งเสริมการเพาะปลูกพืชที่มีศักยภาพต่อการแปรรูปในปริมาณที่เหมาะสมและมีคุณภาพได้มาตรฐาน - การเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ตลอดจนการถ่ายทอดเทคโนโลยี - การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการแปรรูปเพื่อถ่ายทอดฯให้แก่ผู้ประกอบการ - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปแก่ผู้ประกอบการ 1.เกษตรกร 2.ผู้ผลิตชุมชน (OTOP) กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)

  9. แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... ตัวอย่าง สร้างกลุ่มใหม่ พัฒนากลุ่มเดิม สนับสนุนเทคโนโลยีและปัจจัยการผลิต กลุ่มดำเนินการผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ ประสานงานขอใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมด้านการตลาด • การสำรวจความต้องการของตลาดและสภาพการแข่งขัน • การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เทคโนโลยีการแปรรูปและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ • การส่งเสริมการเพาะปลูกพืชที่มีศักยภาพต่อการแปรรูปในปริมาณที่เหมาะสมและมีคุณภาพที่ได้มาตรฐาน • การประสานความร่วมมือจากภาคเอกชนในการพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปออกแบบบรรจุภัณฑ์และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูป • การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปแก่เกษตรกร/ ผู้ผลิตชุมชน (OTOP)/ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อม (SME) • การส่งเสริมและช่วยประสานงานแก่ผู้ประกอบการในการออกใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: - ผลการสำรวจความต้องการของตลาดและสถิติรายได้ของจังหวัดในการจำหน่ายสินค้าแปรรูปแต่ละชนิด - ชนิดของพืชและแหล่งเพาะปลูกที่เหมาะสมและศักยภาพในการผลิต (ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ) เป็นต้น พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อเป็นแหล่งในการถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยีแก่ผู้สนใจ จัดตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนวิทยาการและเทคโนโลยีการแปรรูประหว่างภาครัฐและภาคเอกชน พัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ: - เทคโนโลยีการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์เป็นต้น T P P H กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)

  10. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  11. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีปริมาณน้ำที่เพียงพอต่อการเพาะปลูก • มีข้อมูลที่จำเป็นต่อการจัดการน้ำที่ดีเกี่ยวกับ • แหล่งและปริมาณน้ำ • ประเภทเกษตรกรรมและความต้องการใช้น้ำเป็นต้น • ความสามารถในการกักเก็บและการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ - การสำรวจเพื่อจัดเก็บข้อมูลความต้องการใช้น้ำแหล่งน้ำและปริมาณน้ำที่สามารถจัดเก็บ - การปรับปรุงและจัดสร้างแหล่งกักเก็บน้ำสำหรับชุมชนให้สามารถกักเก็บน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น - การให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรในการหันมาเพาะปลูกพืชทางเลือกที่เหมาะสมกับปริมาณและคุณภาพของน้ำ 1.เกษตรกร กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)

  12. แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... ตัวอย่าง รับคำขอรับการสนับสนุนด้านแหล่งน้ำ พิจารณาโครงการ / ศึกษารายละเอียด สำรวจและออกแบบแหล่งน้ำ จัดทำแผนงานโครงการและคำของบประมาณ จัดเวทีประชาคมในแต่ละอำเภอและจัดลำดับความสำคัญของแหล่งน้ำ ดำเนินการก่อสร้างปรับปรุงแหล่งน้ำ ส่งมอบให้อปท. ดูแล • การสำรวจเพื่อเก็บข้อมูลความต้องการใช้น้ำแหล่งและปริมาณน้ำที่สามารถกักเก็บ • การศึกษาและกำหนดแนวทางในการพัฒนาและจัดสร้างแหล่งกักเก็บน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการ • การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรและชุมชนเกี่ยวกับแผนการบริหารและจัดการน้ำ • การปรับปรุงและจัดสร้างแหล่งกักเก็บน้ำ มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: - แหล่งน้ำและปริมาณน้ำในจังหวัด (ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ) - ผลการสำรวจความต้องการของการใช้น้ำในจังหวัด เป็นต้น T กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)

  13. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  14. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารผลิตสินค้าที่ปลอดภัยได้มาตรฐานสามารถแข่งขันได้ประชาชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัยมีคุณภาพ • ผู้ผลิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และความสำคัญของมาตรฐานการผลิตสินค้าและมีเทคโนโลยีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ • กระบวนการตรวจสอบและออกใบรับรองมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพ • วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตที่มีคุณภาพและมีปริมาณที่เพียงพอ - การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ผลิตให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ความสำคัญของมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ตลอดจนเกณฑ์การออกใบรับรองมาตรฐาน - การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ผลิตเกี่ยวกับวิธีการคัดสรรวัตถุดิบและวิธีการผลิตที่ได้มาตรฐานความปลอดภัยและการจัดสร้าง Knowledge Management เกี่ยวกับความรู้และวิทยาการการผลิต - การปรับปรุงหลักเกณฑ์และขั้นตอนการตรวจสอบเพื่อออกใบรับรองมาตรฐานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 1. ผู้ผลิตอาหาร 2. ผู้บริโภค กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  15. แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... ตัวอย่าง • การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ผลิตและผู้บริโภคเกี่ยวกับความสำคัญของมาตรฐานสินค้าตลอดจนหลักเกณฑ์การออกใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ • การถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการเกี่ยวกับวิธีการคัดสรรวัตถุดิบและวิธีการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) • การตรวจสอบและออกใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยให้แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ • การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาช่องทางจัดจำหน่ายและตลาดรองรับ มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: - หลักเกณฑ์และมาตรฐานในการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) - เกษตรกรและผู้ประกอบการที่อยู่ในข่ายส่งเสริมและสนับสนุนให้ได้รับการรับรองมาตรฐานเป็นต้น พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และกระบวนพัฒนาเพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) เพื่อถ่ายทอดวิธีการวิทยาการและเทคโนโลยีแก่ผู้สนใจ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ด้านอาหารปลอดภัย H P P กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)

  16. ทีมงานสนับสนุน • การวิเคราะห์กระบวนงานปัจจุบัน โทรศัพท์0-2676-5850โทรสาร 0-2676-5855 Email: template_th@deloitte.com • การจัดเก็บข้อมูลด้านศักยภาพบุคลากรติดต่อสายด่วน1785โทรสาร 0-2281-8169หรือ Email:werachai.wongpoo@accenture.com

More Related