1 / 19

การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี

การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสงขลา. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผน. เพื่อให้มั่นใจว่ามีแนวทางในการสร้างความสำเร็จให้กับเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในการทำงานไว้ล่วงหน้า

Télécharger la présentation

การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสงขลา

  2. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนวัตถุประสงค์ของการจัดทำแผน • เพื่อให้มั่นใจว่ามีแนวทางในการสร้างความสำเร็จให้กับเป้าหมายที่กำหนดไว้ • เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในการทำงานไว้ล่วงหน้า • เพื่อลดความขัดแย้งในการทำงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน • เพื่อลดความผิดพลาดและความซ้ำซ้อนในการทำงาน

  3. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผน(ต่อ)วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผน(ต่อ) • เพื่อจัดลำดับความสำคัญและเร่งด่วนของการทำงานไว้ล่วงหน้า • เพื่อใช้ในการมอบหมายงานให้กับผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพราะทุกคนจะทราบว่าจะต้องทำอะไร เมื่อไร อย่างไร • เพื่อใช้ในการกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายประจำปี • เพื่อให้แผนที่วางไว้มีความเป็นไปได้และใกล้เคียงกับการที่จะปฏิบัติจริงให้มากที่สุด

  4. ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติงานขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติงาน 1. วิเคราะห์ความจำเป็นของการจัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดลำดับความสำคัญของแผนปฏิบัติงาน 3. ดำเนินการจัดทำแผน

  5. แผนปฏิบัติงานที่ดีต้องประกอบไปด้วยแผนปฏิบัติงานที่ดีต้องประกอบไปด้วย • ชื่อแผนปฏิบัติงาน • ขั้นตอนหลัก • กิจกรรม • วิธีหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน • กำหนดวัน เวลา สถานที่

  6. แผนปฏิบัติงานที่ดีต้องประกอบไปด้วย(ต่อ)แผนปฏิบัติงานที่ดีต้องประกอบไปด้วย(ต่อ) • ความเสี่ยงของขั้นตอนหรือกิจกรรม • แผนปฏิบัติรองรับ/แผนปฏิบัติสำรอง • งบประมาณ • ผู้รับผิดชอบ

  7. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ(Swot)ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ(Swot) ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์พบว่า

  8. จุดแข็ง • บุคลากรมีจำนวนเพียงพอ • บุคลากรเป็นคนในพื้นที่ • บุคลากรมีวุฒิการศึกษาสูงในระดับปริญญาตรีขึ้นไป • บุคลากรมีความรู้ประสบการณ์ มีทัศนคติในการทำงานที่ดี

  9. จุดแข็ง(ต่อ) • บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • มีงบประมาณในการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอทั้งงบจาก กระทรวง จังหวัด ศอบต.อพท.NGO • มีโครงสร้างองค์กร ครอบคลุมภารกิจที่ได้รับมอบหมาย • มีการประสานงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างใกล้ชิด (มีส่วนรวม)

  10. จุดอ่อน • บุคลากรขาดการกระตือรือร้น • ผู้บริหารเปลี่ยนแปลงบ่อยทำให้งานไม่ต่อเนื่อง • งบประมาณได้รับการจัดสรรโอนล่าช้า • สถานที่ปฏิบัติงานคับแคบ

  11. จุดอ่อน(ต่อ) • ขาดการเผยแพร่สิทธิและสวัสดิการของกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง • ขาดการใช้เครือข่ายทางสังคมเท่าที่ควร • ขาดการประสานงานภายในองค์กรระหว่างกลุ่มฝ่ายที่ควรจะเป็น

  12. โอกาส • นโยบายของรัฐทุกระดับให้ความสำคัญทางสังคมตั้งแต่รัฐธรรมนูญลงมาถึงระเบียบต่างๆ • มีกฎหมายจำนวน 22 ฉบับเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรู้บทบาทหน้าที่และสนับสนุน พมจ. เป็นอย่างดี

  13. โอกาส(ต่อ) • นโยบาย (TMT-GT สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ) AEC เกื้อหนุนต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในด้านสังคมระหว่างประเทศ • การคมนาคมสะดวกในการประสานงานและดำเนินการด้านสังคมต่างๆ

  14. อุปสรรค • ผู้กำหนดนโยบายในระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัดขาดความเข้าใจหลักบทบาทของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

  15. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ(Swot)ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ(Swot) การทำแผนปฏิบัติงานของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสงขลา

  16. จุดแข็ง • บุคลากรมีความรู้ประสบการณ์ มีทัศนคติในการทำงานที่ดี • บุคลากรที่จัดทำแผนปฏิบัติงานมีความพยายามที่จะเรียนรู้งานที่ได้รับมอบหมาย • บุคลากรที่จัดทำแผนปฏิบัติงานสามารถนำข้อผิดพลาดไปแก้ไขจนก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดทำแผนปฏิบัติงาน

  17. จุดอ่อน • บุคลากรในการจัดทำแผนปฏิบัติงานมีน้อย • บุคลากรในการจัดทำแผนปฏิบัติงานยังขาดประสบการณ์ในการทำแผนปฏิบัติงาน • ขาดความต่อเนื่องในการจัดทำแผน • บุคลากรในการจัดทำแผนปฏิบัติงานต้องมีการเรียนรู้ในการจัดทำแผนปฏิบัติงานเพิ่มเติม

  18. โอกาส • หัวหน้างานเข้าในการทำงานของผู้จัดทำแผนปฏิบัติงาน • ระยะเวลาในการทำงานมีการยืดหยุ่นทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถมีเวลาที่จะแก้ไขผลงาน • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการจัดทำแผนปฏิบัติงาน

  19. อุปสรรค • บ้างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งข้อมูลล้าช้า • บุคลากรในการจัดทำแผนปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานในส่วนอื่นด้วย • อุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องปลิ้นเตอร์ เกิดการขัดข้องและไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน

More Related