1 / 101

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์. จุลทรรศน์ศาสตร์. จุล + ทรรศน์ + ศาสตร์ เล็ก การดู ศึกษา การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์. ประกอบด้วยการตรวจวิเคราะห์ดังนี้

ayala
Télécharger la présentation

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

  2. จุลทรรศน์ศาสตร์ จุล + ทรรศน์ + ศาสตร์ เล็ก การดู ศึกษา การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์

  3. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์ ประกอบด้วยการตรวจวิเคราะห์ดังนี้ • การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) • การตรวจอุจจาระ ( Stool exam ) • การตรวจหา Occult blood ในอุจจาระ • การตรวจน้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ( Fluid cell count )

  4. ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยาความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา

  5. What is Metabolism?

  6. Metabolism ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในขณะหนึ่งมีปฏิกิริยา เกิดขึ้นเป็นช่วง ๆ ปฏิกิริยาที่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาที่มีการสลาย สารอินทรีย์หรือสังเคราะห์สารอินทรีย์ภายในเซลล์ซึ่งต้อง อาศัยเอนไซม์( Enzyme ) เราเรียกปฏิกิริยาทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในสิ่งมีชีวิตว่า เมตาบอลิซึม ( Metabolism )

  7. อวัยวะขับถ่ายของคน ประกอบด้วย • ไต ( Kidney ) • ท่อไต ( Ureter ) • กระเพาะปัสสาวะ ( Urinary bladder )

  8. ไต ( Kidney ) - คนมีไต 2 ข้าง - อยู่ในช่องท้องสองข้างของกระดูกสันหลังบริเวณเอว - ยาวประมาณ 10-13 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร และหนา 3 เซนติเมตร - ไตแต่ละข้างหนักประมาณ 150 กรัม

  9. ไต ( Kidney ) - ต่อจากไตทั้งสองข้างมีท่อไต ( Ureter ) - ทำหน้าที่ลำเลียงปัสสาวะจากไตไปเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะ ( Urinary bladder ) - แล้วขับถ่ายออกนอกร่างกายทางท่อปัสสาวะ ( Urethra )

  10. ไต ( Kidney )

  11. หน้าที่ของไต - กรองของเสียออกจากเลือด - ควบคุมสภาพความเป็นกรด-เบสของเลือดให้เป็นปกติ - ควบคุมสมดุลของน้ำ เกลือแร่ และ electrolyte อื่น ๆ - การดูดสารกลับที่ท่อของหน่วยไต - การขับถ่ายของเสียออกนอกร่างกาย

  12. การดูดสารกลับของไต - การดูดน้ำกลับ - การดูดซึมกลูโคส และวิตามินซี หากมีปริมาณปกติจะถูกดูดซึม กลับจนหมด - โซเดียมคลอกไรด์ กรดอะมิโน วิตามินบางชนิด จะถูกดูดกลับไปใช้ได้ - สารที่มีการดูดกลับน้อยมาก ได้แก่ ยูเรีย ฟอสเฟต ซัลเฟต - การดูดกลับของกรดยูริก

  13. การเกิดปัสสาวะ ( The formation of urine ) - อวัยวะที่เกิดปัสสาวะ คือ ไต ( Kidney ) - การเกิดปัสสาวะเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างซับซ้อนในการกรองผ่านเลือด , การดูดซึมกลับ ( Reabsorption ) ของสารที่จำเป็นในเลือด รวมทั้งน้ำด้วย - เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียโดยไต

  14. การเกิดปัสสาวะ ( The formation of urine ) หลังจากที่เกิดปัสสาวะในไตแล้ว ปัสสาวะจะไหลผ่านมาตามท่อไต ( Ureter ) เข้าไปสู่กระเพาะปัสสาวะ ( Bladder ) และจะเก็บไว้ที่นี่ชั่วคราว ถูกขับถ่ายออกทางท่อปัสสาวะ ( Urethra )

  15. การเกิดปัสสาวะ ( The formation of urine ) ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ขับออกนอกร่างกาย

  16. ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ปัสสาวะ ขับออกนอกร่างกาย

  17. ร่างกายขับของเสียออกทางปัสสาวะ เพื่อกำจัดสารที่ไม่ต้องการออกจากพลาสมา และเลือกเก็บสารที่มีประโยชน์ไว้โดยการทำงานของไต

  18. ส่วนประกอบของปัสสาวะ ( Urine )

  19. - ร้อยละ 95 เป็น น้ำ - ร้อยละ 2 เป็น Urea ส่วนที่เหลือเป็น - Uric acid - Creatinine - โซเดียม - โปแตสเซี่ยม - คลอไรด์ - แคลเซี่ยม - แมกนีเซี่ยม - ฟอสเฟท - ซัลเฟต - และ แอมโมเนีย

  20. ร่างกายขับของเสียออกทางปัสสาวะ เพื่อกำจัดสารที่ไม่ต้องการออกจากพลาสมา และเลือกเก็บสารที่มีประโยชน์ไว้โดยการทำงานของไต

  21. ในภาวะของพยาธิสภาพบางอย่าง จะมีการขับถ่ายเอาสารบางชนิดออกมาด้วยเป็นจำนวนมาก เช่น Ketone bodies , โปรตีน , กลูโคส และ บิลิรูบิน

  22. การตรวจปัสสาวะ( Urinalysis )

  23. การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) - การตรวจปัสสาวะเป็นการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญอย่างหนึ่งเพื่อคัดกรองโรคและวินิจฉัยโรค - ผู้ป่วยที่แรกรับเข้าโรงพยาบาลจะต้องได้รับการตรวจปัสสาวะ ซึ่งเป็นวิธีที่ทำได้รวดเร็ว ราคาถูก นอกจากนั้นยังใช้เป็นส่วนหนึ่งของการตรวจร่างกายทั่วไป

  24. ความสำคัญของการตรวจปัสสาวะความสำคัญของการตรวจปัสสาวะ • ช่วยในการวินิจฉัยโรค • บอกความรุนแรงของโรค • ช่วยในการรักษาและช่วยในการติดตามการดำเนินของโรค โดยเฉพาะโรคระบบทางเดินปัสสาวะ ตั้งแต่ ไต กรวยไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ จนถึงท่อปัสสาวะ นอกจากนี้ยังมีความสำคัญสำหรับโรคอื่น ๆ เช่น โรคตับ โรคเบาหวาน เป็นต้น • การตรวจปัสสาวะสามารถที่จะใช้เป็นสิ่งบ่งชี้ให้ทราบถึงความผิดปกติของไตได้

  25. การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) การตรวจปัสสาวะทางห้องปฏิบัติการแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1. การตรวจคุณสมบัติทางกายภาพ 2. การตรวจคุณสมบัติทางเคมี 3. การตรวจโดยใช้กล้องจุลทรรศน์

  26. การตรวจคุณสมบัติทางกายภาพการตรวจคุณสมบัติทางกายภาพ

  27. การตรวจคุณสมบัติทางกายภาพการตรวจคุณสมบัติทางกายภาพ • การดูจำนวนหรือปริมาตรของปัสสาวะ • การดูสีของปัสสาวะ ( Color ) • การดูลักษณะของปัสสาวะ ( Appearance ) • ความเป็นกรด – ด่าง ของปัสสาวะ ( pH ) • ค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะ ( Specific gravity)

  28. การดูจำนวนหรือปริมาตรของปัสสาวะการดูจำนวนหรือปริมาตรของปัสสาวะ

  29. การดูจำนวนหรือปริมาตรของปัสสาวะการดูจำนวนหรือปริมาตรของปัสสาวะ • ในคนปกติจะต้องมีปัสสาวะขับถ่ายออกมาอย่างน้อยวันละ 600 มล. จึงสามารถขับของเสียออกจากร่างกายได้ • เมื่อคนเราดื่มน้ำตามปกติ ก็จะมีปริมาตรของปัสสาวะแปรผันได้ คือวันละ 600-1,500 มล. ซึ่งถือเป็น Normal variation

  30. หากตรวจพบว่าการขับถ่ายปัสสาวะไม่มี variation เลย เช่น จะงดน้ำหรือดื่มน้ำมากก็ตาม ผู้นั้นก็ยังคงขับถ่ายปัสสาวะออกมาคงที่เสมอในปริมาตร 1,500 มล./วัน ก็แสดงให้เห็นว่าการทำงานของไปเสื่อมสมรรถภาพลงแล้ว หรืออาจมีโรคเกี่ยวกับไตก็ได้

  31. การดูสีของปัสสาวะ ( Color )

  32. การดูสีของปัสสาวะ ( Color ) • ปกติปัสสาวะจะมีสีเหลืองอ่อน • โดยทั่วไปสีของปัสสาวะจะแปรผันตามความเข้มข้นของ solute ถ้าปริมาณของน้ำมีมาก ปัสสาวะก็จะมีสีใส • สีปัสสาวะที่ผิดปกติขึ้นอยู่กับโรค พยาธิสภาพบางชนิด อาหารและยาบางชนิดที่รับประทานเข้าไป • ปัสสาวะมีสีค่อนข้างดำ หรือ สีเหมือนน้ำล้างเนื้อ แสดงถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับไตหรือระบบทางเดินปัสสาวะได้

  33. การอ่านผลการตรวจวิเคราะห์สีปัสสาวะที่ปกติการอ่านผลการตรวจวิเคราะห์สีปัสสาวะที่ปกติ

  34. การอ่านผลการตรวจวิเคราะห์สีปัสสาวะที่ผิดปกติการอ่านผลการตรวจวิเคราะห์สีปัสสาวะที่ผิดปกติ

  35. การดูลักษณะของปัสสาวะ ( Appearance )

  36. การดูลักษณะของปัสสาวะ ( Appearance ) คือ การรายงานความขุ่นของปัสสาวะ หรือ เรียกว่า Turbidity

  37. การดูลักษณะของปัสสาวะ ( Appearance ) • ปัสสาวะปกติจะใส • ถ้าปัสสาวะขุ่นจะมีสารอย่างอื่นปนอยู่ด้วย เช่น เม็ดเลือด , เซลล์เยื่อบุ • ปัสสาวะปกติที่ถ่ายออกมาใหม่ๆมักมีลักษณะใส • ถ้าทิ้งไว้นานอาจขุ่นได้เนื่องจากมีการตกตะกอนของสารที่ละลายในปัสสาวะที่มีความอิ่มตัวมากเกินไป

  38. การรายงานลักษณะของปัสสาวะ ( Appearance )

  39. ความเป็นกรด – ด่าง ของปัสสาวะ pH

  40. ความเป็นกรด – ด่าง ของปัสสาวะ ( pH ) • เป็นการประเมินความสามารถของไตในการควบคุมความเป็นกรดด่างของเลือดและน้ำภายนอกเซลล์ • เปลี่ยนแปลงไปตามขบวนการเมทาบอลิซึมของร่างกาย ชนิดของอาหาร โรคและการรักษาด้วยยา • ปกติเมตาบอลิซึมของร่างกายให้ผลผลิตที่เป็นกรด ซึ่งถูกขับออกส่วนใหญ่ทางปัสสาวะ

  41. ความเป็นกรด – ด่าง ของปัสสาวะ ( pH ) ปัสสาวะเป็นกรด • ร่างกายมีภาวะกรดเกินจะขับ H+ • การทานเนื้อสัตว์มากๆ • ผู้ป่วยที่อดอาหารเป็นเวลานาน • รับประทานอาหารประเภทโปรตีนสูง • ได้รับยาบางชนิด

  42. ความเป็นกรด – ด่าง ของปัสสาวะ ( pH ) ปัสสาวะเป็นด่าง • ร่างกายมีภาวะเป็นด่างจะขับ H+ น้อยลง • การทานผักมากๆ • การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ • ปัสสาวะเก่า • ได้รับยาบางชนิด

  43. ความเป็นกรด – ด่าง ของปัสสาวะ ( pH ) • การวัด pH ของปัสสาวะจะต้องใช้ปัสสาวะที่ถ่ายใหม่ ๆ ถ้าตั้งทิ้งไว้นานจะเป็นด่างมากจากแอมโมเนียที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของยูเรีย โดยแบคทีเรียที่เจริญขณะตั้งปัสสาวะทิ้งไว้ • การวัด pH ของปัสสาวะใช้เป็นตัวคุมในการรักษาโรคระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น การอักเสบหรือนิ่วในทางเดินปัสสาวะ

  44. การอ่านผลการตรวจวิเคราะห์การอ่านผลการตรวจวิเคราะห์ ค่าปกติ pH = 4.6 – 8.0 ค่าเฉลี่ยประมาณ 6.0

  45. ค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะSpecific Gravity

  46. ค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะSpecific Gravity • ความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะเป็นเครื่องวัดความเข้มข้นของสารละลายในปัสสาวะ

  47. ค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะSpecific Gravity • มีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดวัน ขึ้นกับปริมาตรน้ำที่ดื่ม อาหาร อุณหภูมิและการทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยจะมีค่าสูงสุดในปัสสาวะที่ถ่ายครั้งแรกตอนเช้า • คนปกติปัสสาวะที่ถ่ายแต่ละครั้ง มีค่าความถ่วงจำเพาะที่แตกต่างกันมาก ตั้งแต่ 1.003 – 1.035 • ปัสสาวะ 24 ชั่วโมงมีค่า 1.015 – 1.025

More Related