1 / 41

เตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2558

เตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2558. ขนิษฐา ห้านิรัติศัย สำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สป. ประชาคม อาเซียน 2558 : ความจริงหรือความฝัน ?. นโยบายของประเทศไทยสู่อาเซียน.

balin
Télécharger la présentation

เตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2558 ขนิษฐา ห้านิรัติศัย สำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สป

  2. ประชาคมอาเซียน 2558 : ความจริงหรือความฝัน?

  3. นโยบายของประเทศไทยสู่อาเซียนนโยบายของประเทศไทยสู่อาเซียน • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการ สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน • นโยบายนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร สร้างความสามัคคีและ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและส่งเสริมความ ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความ ร่วมมือด้านค่างๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคใน การพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

  4. มุ่งสู่ประชาคมอาเซียนมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน • ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักเรียน นักศึกษาทุกระดับให้มีความรู้ และทักษะที่เหมาะสมในการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้วยการให้ความรู้ และจัดฝึกอบรมด้านทักษะวิชาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและทักษะสำหรับโลกแห่งศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานและการประกอบอาชีพข้ามพรมแดนอย่างเสรี • การพัฒนาศักยภาพของเยาวชนและประชาชนด้านภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศในอาเซียน รวมถึงประเทศอาเซียนบวกสาม ได้แก่ จีน เกาหลีและญี่ปุ่น เพื่อการแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศ และในโลกแห่งการทำงาน • ส่งเสริมให้มีกรอบคุณวุฒิวิชาชีพระดับภูมิภาคอาเซียน เพื่อรองรับระบบการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศในภูมิภาคอาเซียนโดยใช้กลไกสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา และเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน • ส่งเสริมการดำเนินงานวิจัยร่วมในอาเซียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของอาเซียนให้มีมาตรฐานสากลและรองรับการเปิดเสรีการศึกษาของอาเซียน

  5. ASEAN Association for South East AsianNations

  6. ASEAN COUNTRIES Thailand Laos Vietnam Cambodia Malaysia Myanmar Brunei Philippine Indonesia Singapore

  7. ทิศทางความร่วมมือด้านการศึกษาของอาเซียนทิศทางความร่วมมือด้านการศึกษาของอาเซียน East Asia Summit ASEAN+3 SEAMEO ASEAN

  8. ความสำคัญของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน • วัตถุประสงค์ของอาเซียน - ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหารส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค - ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  9. “วิสัยทัศน์อาเซียน 2020” • ในวาระครบรอบ 30 ปี เมื่อปี 2540 ให้การรับรอง “วิสัยทัศน์อาเซียน 2020” (ASEAN Vision 2020) เพื่อสร้างความสมานฉันท์ของประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มุ่งปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก การดำรงชีวิตอย่างสันติสุข ความมั่นคง และความมั่งคั่ง ความเป็นหุ้นส่วนร่วมกันในการพัฒนาอย่างมีพลวัตรและในประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร ความสมานฉันท์ และนำไปสู่ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดมากขึ้นภายในอาเซียน • ปฏิญญาบาหลี ฉบับที่ 2 มีเป้าหมายไปสู่การรวมตัวของอาเซียนในลักษณะการเป็นชุมชนหรือประชาคมเดียวกันให้สำเร็จภายในปี 2563 แต่ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมือเดือนมกราคม 2550 ที่เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ ผู้นำประเทศอาเซียนตกลงที่จะเร่งรัดกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จภายในปี 2558

  10. ประชาคมอาเซียน 2558

  11. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

  12. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  13. การเคลื่อนย้ายบริการเสรี : เพิ่มสัดส่วนถือหุ้นของต่างชาติในธุรกิจบริการ Company Logo

  14. การเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรี 7 สาขาวิชาชีพ แพทย์ วิศวกร พยาบาล ทันตแพทย์ สถาปนิก บัญชี ช่างสำรวจ

  15. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมประชาคมสังคมและวัฒนธรรม Company Logo

  16. ผลประโยชน์ที่ได้รับจาก AEC Company Logo

  17. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน • เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่มีเอกภาพ มีอัตลักษณ์ร่วมกัน ท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม • มีความเอื้ออาทรต่อกัน และแบ่งปัน • ประชาชนได้รับการพัฒนาในทุกๆ ด้าน

  18. Master plan for Connnectivity Company Logo

  19. การคมนาคมข้ามพรมแดน สะดวก รวดเร็ว และประหยัดขึ้น

  20. Economic Corridor (R9) route between Nanning-Bangkok over 1,900 kmNanning-Hanoi (Road No.1) Kwangbing (Road No.9) – Sawannakhet –Mookdaharn-KhonKaen-Bangkok What we prepared for our students?

  21. East-West Economic Corridor

  22. ประโยชน์ที่จะได้รับในอนาคตประโยชน์ที่จะได้รับในอนาคต • คนไทยจะได้รับประโยชน์จากการรวมตัวเป็นประชาคมของอาเซียนมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับการเตรียมความพร้อมของประเทศ • การสร้างความตื่นตัวและให้ความรู้กับประชาชน เป็นเรื่องสำคัญ เพื่อให้ตระหนักถึงโอกาสและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันซึ่งจะช่วยให้คนไทยได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ ในขณะเดียวกันก็ต้องป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบในทางลบแก่ภาคส่วนต่าง ๆ

  23. การเตรียมความพร้อมของประชาชนเพื่อก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน • ไทยและอาเซียนก้าวสู่การเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจโลกในปี 2558 • การศึกษาถูกกำหนดให้เป็นกลไกหลักในการนำอาเซียนก้าวสู่ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และสังคม การมีศักยภาพในการแข่งขัน และอำนาจต่อรองการเจรจากับกลุ่มประเทศในภูมิภาคอื่นๆ รวมทั้ง ประชาคมยุโรป • ประเทศสมาชิกอาเซียนได้กำหนดแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  24. การจัดการศึกษาของสมาชิกอาเซียนการจัดการศึกษาของสมาชิกอาเซียน • ประเทศสิงคโปร์ กำหนดแผนพัฒนาการศึกษาในทุกระดับเพื่อพัฒนาสังคม แห่งการเรียนรู้ เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นำแห่งเอเชียด้านศูนย์กลางการศึกษาระดับมาตรฐานโลก มีเป้าหมายให้นักเรียนและนักศึกษาจากประเทศต่างๆ เข้าศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษา จำนวนประมาณ ๖๖,๐๐๐ คน ภายในปี ค.ศ ๒๐๑๒ • ประเทศฟิลิปปินส์ ให้ความสำคัญต่อการลงทุนทางการศึกษา สนับสนุน การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การสร้างทักษะความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร การจัดการศึกษานอกระบบ และการฝึกอบรมด้านเทคนิคและวิชาชีพ

  25. ประเทศมาเลเซีย เน้นการพัฒนาระบบการศึกษาที่มีคุณภาพโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ เปิดโอกาสในการพัฒนาความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล เน้นการผลิตกำลังคนให้มีความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยี มีทักษะการคิด ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม สร้างสังคมบนพื้นฐานแห่งทักษะ และความรอบรู้ภายใต้ระบบการศึกษา “world class education system” ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยให้การศึกษาเป็นหนึ่งใน 8 ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ ให้ความสำคัญต่อการลงทุนการศึกษา และการพัฒนาด้านโครงสร้าง ICT ประเทศอินโดนีเซีย จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ เน้นการพัฒนาความเป็นมืออาชีพของบุคลากรการศึกษา การพัฒนาครู สถาบันการศึกษา การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริหารโรงเรียน

  26. ประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการเตรียมความพร้อมและปรับตัวสู่บริบทโลกและภูมิภาค สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยในส่วนของอาเซียน เน้นการสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน สปป ลาว กัมพูชา มีการพัฒนาการศึกษาภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการกระจายโอกาสทางการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่สากล เวียดนาม ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคน และการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

  27. ความสำคัญของการศึกษา • การศึกษาเป็นรากฐานการพัฒนา สร้างอาเซียนสู่การเป็นประชาคมที่มีความมั่นคงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม • กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทในการขับเคลื่อนและพัฒนาความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อนำอาเซียนก้าวสู่การเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ในสังคมแห่งความเอื้ออาทร สมานฉันท์ รักใคร่ผูกพัน และร่วมตระหนักถึงการมีอัตลักษณ์อาเซียน ท่ามกลางความหลากหลายทางด้านเชื้อชาติ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

  28. ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน • ของภาคการศึกษาในเสาการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน เน้นในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิมนุษยชน • บทบาทของภาคการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ การพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การจัดทำการยอมรับทักษะในอาเซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน นักศึกษาให้มากขึ้น การพัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพื้นฐานของความสามารถในภูมิภาคอาเซียน • บทบาทของภาคการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาเนื้อหาสาระร่วมในเรื่องอาเซียน ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้แก่เยาวชน กำหนดให้ภาษาประจำชาติอาเซียนเป็น ภาษาต่างประเทศวิชาเลือกในโรงเรียน การเฉลิมฉลองวันอาเซียน

  29. แผนปฏิบัติการด้านการศึกษา ๕ ปี ของอาเซียน ๑. การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน ๒. การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะประชาชนที่อยู่บริเวณชายแดน การจัดการศึกษาตลอดชีวิต • การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการศึกษา เพื่อสนับสนุนการแบ่งปันในภูมิภาค การสร้างเอกลักษณ์และความเป็นเลิศของภูมิภาค • การสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆเพื่อพัฒนาการศึกษาเช่น การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของนักเรียน การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนศึกษา เป็นต้น

  30. ยุทธศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน นโยบายที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน นโยบายที่ 2 การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ นโยบายที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูอาจารย์ในอาเซียน รวมทั้งเพื่อให้มีการยอมรับในคุณสมบัติทางวิชาการร่วมกันในอาเซียน

  31. นโยบายที่ 4 การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด้วย การจัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการศึกษา การพัฒนาความสามารถ ประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพสำคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิดเสรีการศึกษา ควบคู่กับการเปิดเสรีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน นโยบายที่ 5 การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากรสำคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน

  32. แนวทางในการเตรียมความพร้อมของไทย • การให้ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน • เพื่อให้ประชาชนตระหนักในการก้าวสู่การเป็นประชาชนอาเซียน • การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับผลอันเนื่องมาจาก การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีใน ๗ สาขาวิชาชีพที่ได้มีการลงนามแล้ว ได้แก่ วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นักสำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และนักบัญชี เป็นต้น • การเตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ และภาษาในกลุ่มอาเซียนบวกสาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาจีนซึ่งมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว • การศึกษาวัฒนธรรมของสมาชิก เพื่อสามารถอยู่ร่วมกันในความหลากหลายของอาเซียน

  33. ยึดหลักการ 3Rs ประกอบด้วย การอ่าน การเขียน และมีความรอบรู้ในด้านคณิตศาสตร์ (Reading, Writing and Arithmetic) และหลักการ 4Cs ประกอบ การคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา การติดต่อสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation, Critical Thinking and Problem Solving, Communication and Collaboration) การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21

  34. พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพในการร่วมพัฒนาบุคลากรในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพในการร่วมพัฒนาบุคลากรในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ • จัดตั้งสำนักงาน/สำนัก/ส่วนงาน เพื่อดูแลงานรับผิดชอบงานด้านอาเซียน โดยเฉพาะภายใต้องค์กร

  35. โครงการเยาวชนอาเซียนล่องน้ำโขงโครงการเยาวชนอาเซียนล่องน้ำโขง • โครงการเวทีเยาวชนเอเชียตะวันออกครั้งที่ 3 • มหกรรมการศึกษาอาเซียนสัญจร

  36. www.themegallery.com Thank You !

More Related