1 / 40

ความยากจนและ การกระจายรายได้ ภาค 1

ความยากจนและ การกระจายรายได้ ภาค 1. เอกสารอ้างอิง. สมชัย จิตสุชน จิราภรณ์ แผลงประพันธ์ และ Prof. Nanak Kakwani , การปรับปรุงเส้นความยากจนทางการ , พฤศจิกายน 2547 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, การกระจายรายได้ ความยากจน : ปัญหาและแนวทางแก้ไข, กันยายน 2546. เอกสารอ้างอิง.

Télécharger la présentation

ความยากจนและ การกระจายรายได้ ภาค 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความยากจนและการกระจายรายได้ภาค 1

  2. เอกสารอ้างอิง • สมชัย จิตสุชน จิราภรณ์ แผลงประพันธ์ และ Prof.Nanak Kakwani, การปรับปรุงเส้นความยากจนทางการ, พฤศจิกายน 2547 • สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, การกระจายรายได้ ความยากจน: ปัญหาและแนวทางแก้ไข, กันยายน 2546

  3. เอกสารอ้างอิง • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สถานการณ์ความยากจนและกรอบแนวทางแก้ปัญหาความยากจน, กรกฎาคม 2544

  4. เค้าโครงการบรรยาย A . ความยากจน B. การกระจายรายได้ C. นโยบายเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้

  5. A . ความยากจน

  6. ความยากจน • “ความยากจน” การครองชีพอยู่ต่ำกว่า ”มาตรฐาน” ระดับหนึ่ง • ยากจนแบบสัมบูรณ์ (Absolute poverty) : รายได้ต่ำกว่ามาตรฐานระดับต่ำ  “พอประทังชีพ” (bare subsistence) เส้นความยากจน (“poverty line”)

  7. ความยากจน • “ความยากจน” การครองชีพอยู่ต่ำกว่ามาตรฐานระดับหนึ่ง • ความยากจนแบบสัมพัทธ์ (Relative poverty) : รายได้ต่ำกว่ามาตรฐานเฉลี่ยของสังคม/กลุ่มชน

  8. ปัญหาการวัดความยากจน:ปัญหาการวัดความยากจน: • ใช้ตัวแปรใด? รายได้ รายจ่าย การศึกษา • หน่วย “คน” ? : บุคคล ครอบครัว ครัวเรือน • ตัวชี้วัดของ “ยากจน”

  9. เส้นความยากจน • รายได้ต่ำที่สุดสำหรับการประทังชีพ • ปัจจัยสี่: อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค (+ บริการแพทย์) อื่นๆ (เช่น การเดินทาง การศึกษา การพักผ่อนหย่อนใจ)

  10. การคำนวณเส้นความยากจนการคำนวณเส้นความยากจน 10 • คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับอาหาร • ความต้องการด้านโภชนาการ: องค์ประกอบด้านประชากรของแต่ละครัวเรือน • คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับอาหารตามต้องการ แยกตามพื้นที่/ภาค

  11. การคำนวณเส้นความยากจนการคำนวณเส้นความยากจน คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับรายการที่ไม่ใช่อาหาร เช่น ที่อยู่ เสื้อผ้า รักษาพยาบาล น้ำ-ไฟ การเดินทาง

  12. ปริมาณสารอาหารที่เหมาะสมสำหรับคนไทย, calorie/day ปี 2546

  13. ความต้องการด้านโปรตีน: gram/day, ปี 2546

  14. ค่าใช้จ่ายสำหรับแครอลี่และโปรตีนในปี 2545 แบ่งตามภาค

  15. รายการที่ไม่ใช่อาหาร • เสื้อผ้า รองเท้า • ที่อยู่อาศัย • แสงสว่างและเชื้อเพลิง • รักษาพยาบาล

  16. รายการที่ไม่ใช่อาหาร 16 • เดินทาง • สื่อสาร • การศึกษา

  17. 18

  18. 19

  19. National Poverty Line 1986-2004

  20. สัดส่วนคนจน (Poverty Incidence)ของประเทศไทย 1986 - 2004

  21. สัดส่วนคนจน (Poverty Incidence)รายภาค 1986 - 2004

  22. สัดส่วนของหัวหน้าครัวเรือนยากจนแบ่งตามระดับการศึกษา 2547

  23. สัดส่วนของหัวหน้าครัวเรือนยากจนแบ่งตามอายุ ปี 2547

  24. ขนาดครัวเรือนของคนจน 2547

  25. สัดส่วนของหัวหน้าครัวเรือนยากจนแบ่งตามอาชีพ 2547

  26. สัดส่วนในการถือครองที่ดินของคนจนในสาขาเกษตร ปี 2547

  27. ลักษณะสำคัญของคนจน 2547 • ระดับการศึกษาต่ำ: ไม่สามารถเรียนสูง ไม่สามารถหารายได้สูง • ครอบครัวขนาดใหญ่ ภาระสูง (เด็กและคนชรา + พิการ)

  28. ลักษณะสำคัญของคนจน 2547 • คนจนส่วนใหญ่ (80% ของ 7 ล้านคน) อยู่ในชนบท/เกษตร และจำนวนมากเป็นเกษตรกรไร้ที่ดิน • ภาคอีสานมีสัดส่วนคนจนสูงที่สุดและ จำนวนคนจนมากที่สุด

  29. ครัวเรือนยากจนที่มีหนี้ ปี 2545

  30. การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • เลือกที่ยากจนที่สุดในหมู่บ้าน • สุ่มตัวอย่าง 350 ครัวเรือนในภาคเหนือ • อีสาน กลาง และใต้

  31. การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคม: • ครอบครัวขนาดใหญ่ (3.7 – 5.1 คน) • อัตราการพึ่งพาสูง (54% - 78% เป็นเด็กและ • คนชรา)

  32. การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคม: • หัวหน้าครัวเรือนมีการศึกษาน้อย • > 60% ไม่มีที่ดิน ยกเว้นภาคเหนือ (19%) • ส่วนใหญ่เป็นคนงานรับจ้าง บางคนเป็นเกษตรกร

  33. การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคม: • มีหลายกรณีที่หญิงหม้ายเป็นหัวหน้าครัวเรือน • จำนวนวันทำงานต่ำ • 90% ไม่เคยได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล

  34. สาเหตุแห่งความยากจน • ปัญหาซับซ้อน เชิงโครงสร้าง และหลายมิติ • ปัจจัยทางสังคม: • ลักษณะครอบครัว: ขนาดใหญ่ สุขภาพอ่อนแอ มีเด็ก-คนชรา • การศึกษาต่ำ ขาดทักษะอาชีพ

  35. สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยทางสังคม: • ขาดโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร • ทัศนคติและกระบวนการทางสังคมเป็นลบต่อคนจน • วัฒนธรรมการบริโภคที่เน้นค่านิยมด้านวัตถุ: ใช้จ่ายเกินตัวและการเป็นหนี้

  36. สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยทางเศรษฐกิจ: • นโยบายเศรษฐกิจขาดความสมดุล: เน้นอุตสาหกรรม และไม่ดูแลเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ • โครงสร้างพื้นฐานและบริการสังคมไม่เท่าเทียมกัน

  37. สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยทางเศรษฐกิจ: • ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ • ขาดโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน

  38. สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยด้านระบบบริหารจัดการของรัฐ: • กฎหมายและระเบียบเป็นอุปสรรคแก้ปัญหาความจน • การแก้ปัญหามีลักษณะแยกส่วน • ไม่ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง

More Related