1 / 23

สรุปบทเรียน

สรุปบทเรียน. หลักการทั่วไปทางการบริหารมี 5 ประการ. การวางแผน ( Planning) การจัดองค์กร ( Organizing) การสั่งการ ( Commanding) การประสานงาน ( Co-ordination) การควบคุมงาน (Controlling). หัวใจของการเป็นผู้นำ. ภาวะผู้นำ.

becky
Télécharger la présentation

สรุปบทเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปบทเรียน

  2. หลักการทั่วไปทางการบริหารมี 5 ประการ • การวางแผน (Planning) • การจัดองค์กร (Organizing) • การสั่งการ( Commanding) • การประสานงาน( Co-ordination) • การควบคุมงาน(Controlling)

  3. หัวใจของการเป็นผู้นำ • ภาวะผู้นำ ความสามารถในการนำหรือทำให้บุคคลหรือกลุ่มคนในองค์กร มีความคิดความสนใจและปฏิบัติในทิศทางเดียวกันอย่างมีศิลปะ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร ตามที่กำหนดไว้ได้ โดยไม่มีความขัดแย้ง

  4. หัวใจของการเป็นผู้นำ “หัวใจของการเป็นผู้นำ คือ การมีอิทธิพลต่อผู้อื่น หรือจะทำอย่างไรให้ตนเองเป็นบุคคลที่ผู้อื่นอยากตาม ไม่ใช่อยากให้ตนเองมีตำแหน่งหน้าที่ใด ที่ผู้อื่นอยากเดินตาม” Maxwell ภาวะผู้นำ 5 ระดับ

  5. บันได 5 ขั้นของผู้นำ 5. มีลักษณะเฉพาะตัว (ความยอมรับนับถือ) 4.การพัฒนาผู้คน (การสร้างผู้นำขึ้นใหม่) 3.การสร้างผลงาน (ผลงานที่ทำสำเร็จ) 2.การยินยอม (ความสัมพันธ์) 1. ตำแหน่งหน้าที่ ( สิทธิ์)

  6. การบริหารโดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) Plan วางแผน Action Do ปรับปรุง ปฏิบัติ Check ติดตามประเมินผล

  7. หลักการของSBM กระจายอำนาจ บริหารตนเอง งบประมาณ วิชาการ ดี เก่ง มีความสุข ควบคุมคุณภาพ มีส่วนร่วม บริหารทั่วไป บุคลากร ให้อำนาจตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติ

  8. ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการของศาสตร์ที่ใช้ศิลปะสร้างความพอใจ รักใคร่ ศรัทธา เคารพนับถือ โดยแสดงพฤติกรรมให้เหมาะสมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อโน้มนำให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง จูงใจให้ร่วมมือ ร่วมใจ ในอันที่จะบรรลุสิ่งที่พึงประสงค์อย่างราบรื่น และอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข

  9. เรา (We) ขอบคุณ (Thank you) ฉันชอบมัน (I like it.) คุณคิดอย่างไร (What do you think ?) คุณทำงานดีมาก (You did a good job.) ยอมรับผิดถ้าเราผิด (I admit if I make mistake.) บันได 6 ขั้นเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ในทีมงาน

  10. การให้ข่าวสาร • การให้การศึกษา • การให้ความบันเทิง • การโน้มน้าวชักจูงใจ

  11. หลักสูตร กิจกรรมสนับสนุน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แหล่งเรียนรู้ ออกแบบการจัดการ เรียนรู้อิงมาตรฐาน Positive Discipline ICT ห้องเรียน ICT โรงเรียน CAR ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง Inside out Outside in การวางแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการจัดการศึกษาเดิมของแต่ละโรงเรียน(Based-Line) องค์ประกอบสำคัญของห้องเรียนคุณภาพ ห้องเรียน คุณภาพ ยกระดับคุณภาพการศึกษา

  12. การจัดการห้องเรียน • การจัดกระบวนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในห้องเรียน ด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก(ระบบดูแลช่วยเหลือ) • การจัดกระบวนการเรียนการสอน หรือการจัดการเรียนรู้ (ระบบการเรียนการสอน) “ทั้งสองระบบต้องประสานกัน”

  13. หลัก 7ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก 1. เคารพศักดิ์ศรีของเด็ก 2. พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การมีวินัยในตนเอง และบุคลิกลักษณะที่ดี 3. พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด 4. คำนึงถึงความต้องการทางพัฒนาการและคุณภาพชีวิตของเด็ก5. คำนึงถึงแรงจูงใจและโลกทัศน์ของเด็ก 6. พยายามให้เกิดความยุติธรรม เท่าเทียมกัน และไม่เลือกปฏิบัติ 7. เสริมสร้างความสามัคคีกลมเกลียวในกลุ่ม

  14. ศึกษาปัญหาในห้องเรียน วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา หาวิธีการแก้ปัญหา/แนวคิดการพัฒนานวัตกรรม พัฒนานวัตกรรม/วิธีการแก้ปัญหา จัดกิจกรรมการแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรม เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล/ตรวจสอบ/สะท้อนความคิด/รายงานผล

  15. กรอบที่ 6 ความหมายของสมรรถนะหลัก (Core Competency) • สมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ คุณลักษณะร่วมของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกตำแหน่ง เพื่อหล่อหลอมค่านิยม และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร่วมกัน

  16. กรอบที่ 8 ความหมายของสมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) สมรรถนะประจำสายงาน(Functional Competency) • สมรรถนะประจำสายงาน คือ สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับแต่ละตำแหน่ง เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรที่ดำรงตำแหน่งนั้นแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่ และส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น

  17. กรอบที่ 11 ความหมายของแผนพัฒนาตนเอง แผนพัฒนาตนเอง (Individaul Development Plan = ID – Plan) แผนที่บุคคลได้กำหนดขึ้นเป็นแนวทางในการเสริมสร้าง หรือเพิ่มพูนสมรรถนะ คุณลักษณะ ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมุ่งสู่คุณภาพ ระดับสูง และบรรลุเป้าหมายวิชาชีพของตน

  18. สาระสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาสาระสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อ  พัฒนาคุณภาพการศึกษา  พัฒนาให้สถานศึกษามีมาตรฐานในการจัดการศึกษา

  19. สรุประบบประกันคุณภาพการศึกษาสรุประบบประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง ระบบการบริหารงานของโรงเรียน ที่ทำให้โรงเรียนสามารถบรรลุถึงมาตรฐานคุณภาพที่กำหนดไว้ตลอดเวลา เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความมั่นใจในคุณภาพของโรงเรียน ระบบดังกล่าวประกอบด้วย 3 ระบบย่อย คือระบบการวางแผนระบบการควบคุมระบบรับการทบทวนและปรับปรุงการปฏิบัติงาน

  20. ขั้นตอนการทำโครงการ • รวบรวมข้อมูล สภาพปัจจุบันปัญหา • วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาสาเหตุของปัญหา • หาทางเลือกในการแก้ปัญหา • วางแผนการทำงาน (เขียนโครงการ)

  21. นวัตกรรมการศึกษาคืออะไรนวัตกรรมการศึกษาคืออะไร สิ่งที่นำมาใช้เพื่อพัฒนาการจัด การเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม โดยอาจเป็นสิ่งที่มีผู้คิดค้นมาก่อนแล้ว แต่นำมาปรับปรุงใหม่ หรือคิดขึ้นมาใหม่ ในสถานการณ์ใหม่ก็ได้

  22. การบริหารการจัดการชั้นเรียนการบริหารการจัดการชั้นเรียน การตัดสินใจของผู้สอนในการดำเนินการใดๆ ที่เป็นการอำนวยความสะดวก สนับสนุน ส่งเสริม และกำกับให้ผู้เรียนในความรับผิดชอบได้เรียนรู้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  23. REFLECTION NOTE WHAT WILL YOU DO DIFFERENTLY? WHAT DID YOU DO? HOW DID YOU FEEL? WHAT DID YOU LEARN?

More Related