1 / 43

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมสรรพากร

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมสรรพากร. แนวทางการบรรยาย. - วิสัยทัศน์ , ยุทธศาสตร์ 3 ด้าน และ Roadmap. ของกรมสรรพากร. - ระบบสรรพากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Revenue). - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์. - ภาพจำลองโดยรวมระบบคอมพิวเตอร์กรมสรรพากร. - ระบบ TCL. - บทสรุป.

bela
Télécharger la présentation

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมสรรพากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมสรรพากรระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมสรรพากร

  2. แนวทางการบรรยาย - วิสัยทัศน์ , ยุทธศาสตร์ 3 ด้าน และ Roadmap ของกรมสรรพากร - ระบบสรรพากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Revenue) - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ - ภาพจำลองโดยรวมระบบคอมพิวเตอร์กรมสรรพากร - ระบบ TCL - บทสรุป

  3. วิสัยทัศน์ของกรมสรรพากรวิสัยทัศน์ของกรมสรรพากร วิสัยทัศน์ของกรมสรรพากร ระบบงานมาตรฐานสากลเพื่อบริการประชาชน และ เก็บภาษีทั่วถึง เป็นธรรม

  4. พันธกิจ พันธกิจ - จัดเก็บภาษีอากรให้ได้ตามประมาณการ - ให้บริการและสร้างความสมัครใจในการเสียภาษี - เสนอแนะการใช้นโยบายทางภาษีอากรอย่างทั่วถึง เป็นธรรม สามารถใช้เป็นกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการแข่งขันของประเทศต่อกระทรวงการคลัง

  5. ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 3 ด้านของกรมสรรพากร 1. IT เป็นแกนนำผลักดันขององค์กร 2. บริการผู้เสียภาษีแบบมีเจ้าภาพ เพื่อสร้างความ สมัครใจในการเสียภาษี 3. สำรวจติดตามธุรกิจนอกระบบภาษี

  6. Road Map ของกรมสรรพากร Road Map ของกรมสรรพากร ปี 2549 1. ยุติการรับแบบและชำระภาษีทุกประเภทที่ สส. 2. ออกใบประเมิน/ใบคืน ทางElectronic 3. เริ่มใช้ระบบบัญชีรายตัวผู้เสียภาษีกับ ผู้ประกอบการที่เป็นนิติบุคคล และบุคคลธรรมดา ที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

  7. Road Map ของกรมสรรพากร 4. ใช้ระบบบริหารสำนักงาน (office Automation) ทุกหน่วยงาน 5. มีฐานข้อมูลที่เป็นระบบ Parallel Run 6. ปรับการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมสรรพากรให้เป็น การทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ 7. ปรับโครงสร้างอัตรากำลัง เพื่อให้สอดคล้องกับ แนวปฏิบัติงานใหม่

  8. Road Map ของกรมสรรพากร ปี 2550 1. เจ้าหน้าที่สรรพากรทำงานแบบ Online Remote Access จากที่ใดก็ได้ 2. ใช้ระบบบัญชีรายตัวผู้เสียภาษีกับผู้ประกอบการ ที่เป็นบุคคลธรรมดา

  9. Road Map ของกรมสรรพากร ปี 2551 1. ทุกหน่วยงานทำงานด้วยระบบ Electronic 2. ประเมินผล/ปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง/แก้ไข ปี 2552 เป็นหน่วยงานอิสระที่มีอิสระจากระบบราชการ ในด้านงบประมาณและบุคลากร

  10. แผนปฏิบัติราชการกรมสรรพากรแผนปฏิบัติราชการกรมสรรพากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

  11. แผนปฏิบัติราชการกรมสรรพากรแผนปฏิบัติราชการกรมสรรพากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

  12. แผนปฏิบัติราชการกรมสรรพากรแผนปฏิบัติราชการกรมสรรพากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

  13. ระบบสรรพากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Revenue) วัตถุประสงค์ • เพื่อให้บริการประชาชนอย่างมืออาชีพในระดับ มาตรฐานสากล • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บ ด้วยความเป็นธรรม โดยการใช้ ICT ในการพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีของ กรมฯ • เพื่อพัฒนาองค์กรของกรมฯให้เป็น Modern Office โดยการใช้ ICT ที่เหมาะสม

  14. การดำเนินการที่จะทำให้ก้าวไปสู่ความเป็นการดำเนินการที่จะทำให้ก้าวไปสู่ความเป็น e-Revenue • ขั้นตอนที่ 1 การทำให้องค์กรอยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ให้บริการข้อมูลแบบออนไลน์ทางเดียว • ขั้นตอนที่ 2 การทำให้องค์กรสามารถให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ ในการสอบถามข้อมูล โดยใส่ข้อมูลในฟอร์มอินพุต กรอกแบบตามที่กำหนด มีการส่งข้อมูลแบบออนไลน์และใช้ระบบสื่อสารแบบโต้ตอบ • ขั้นตอนที่ 3 การทำให้องค์กรสามารถโต้ตอบการติดต่อกับผู้ใช้บริการหรือองค์กรอื่น เพื่อเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีการจัดบริการข้อมูลเฉพาะได้

  15. การดำเนินการที่จะทำให้ก้าวไปสู่ความเป็นการดำเนินการที่จะทำให้ก้าวไปสู่ความเป็น e-Revenue • ขั้นตอนที่ 4 การทำให้องค์กรมีความสามารถทำรายการตามคำขอ สามารถโอนย้ายรายการ การทำรายการเกี่ยวกับการเงินและประมวลผลตามความต้องการของผู้ให้บริการ • ขั้นตอนที่ 5 การทำให้องค์กรมีการแลกเปลี่ยนรายการระหว่างองค์กรอย่างอัตโนมัติ มีการเข้าถึงและตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้บริการอย่างเป็นระบบ ซึ่งถือเป็นเป้าหมายสูงสุดในความสำเร็จของการเป็น e-Revenue

  16. องค์ประกอบของระบบงานที่นำไปสู่การเป็นองค์ประกอบของระบบงานที่นำไปสู่การเป็น e-Revenue • ระบบงานกรรมวิธีภาษีสรรพากรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ( Computerize Tax System = CTS ) • ระบบเครือข่ายรัษฎากร(Intranet) ภายใต้ Web Site ชื่อ http://rdsrv.go.th • ระบบ Internet ภายใต้ Web Site ชื่อ www.rd.go.th • ระบบงานที่จะพัฒนาขึ้นใหม่

  17. ระบบงานกรรมวิธีภาษีสรรพากรระบบงานกรรมวิธีภาษีสรรพากร ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (CTS) • ระบบเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (TIN) - ระบบทะเบียนคุมรายการและจัดทำบัญชีผู้เสียภาษี (TCL) • ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (PIT) - ระบบภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT) • ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) • ระบบภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT) • ระบบภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (WT)

  18. ระบบงานกรรมวิธีภาษีสรรพากรระบบงานกรรมวิธีภาษีสรรพากร ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (CTS) ระบบงานที่ยังไม่ได้มีการพัฒนา - ระบบการรักษาความปลอดภัย (Security) • ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS/DSS)

  19. ระบบเครือข่ายรัษฎากร (Intranet) - เป็นแกนนำในการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร - ปฏิรูประบบการทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงผ่านระบบเครือข่าย แบบ On-line - พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานและ เสริมสร้างศักยภาพในทุก ๆ ด้าน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ เช่น

  20. ระบบเครือข่ายรัษฎากร (Intranet) - ระบบกำกับดูแลผู้เสียภาษีโดยใกล้ชิดเป็นราย ผู้ประกอบการและเป็นปัจจุบัน (e-Supervision) - ระบบคัดค้นข้อมูลผู้เสียภาษีรายตัว - ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ - ระบบยื่นคำขอคัดแบบฯผ่าน Intranet

  21. ระบบ Internet เป็นระบบฯที่ให้บริการแก่ ผู้เสียภาษีอากรและ ประชาชนทั่วไป ผ่านทางเครือข่าย Internet เช่น - ระบบงานให้บริการยื่นแบบผ่าน Internet - การให้บริการยื่นคำขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี เงินได้ประเภทนิติบุคคลไทยทาง Internet - การให้บริการรับจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และ ภาษีธุรกิจเฉพาะทาง Internet

  22. ระบบงานที่จะพัฒนาขึ้นใหม่ระบบงานที่จะพัฒนาขึ้นใหม่ - ระบบ Office Automation - ระบบบริการข้อมูลภาษีสรรพากรทางอิเล็กทรอนิกส์ (Interactive Call Center) - ระบบ Online Remote Access • ระบบจัดตั้งศูนย์สารสนเทศ ทำระบบ Parallel Run • และ Back up ข้อมูล

  23. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย - PC/Notebook - Operation System – Window XP, 2000, 98 - Software ระบบ (MS Office, Pladao) Printer พิมพ์ Output ต่างๆ ออกมา ระบบเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ Mainframe เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็น Server

  24. ภาพจำลองโดยรวมของระบบคอมพิวเตอร์ภาพจำลองโดยรวมของระบบคอมพิวเตอร์ ของกรมสรรพากร Printer Server ระบบงาน Hub ผู้เสียภาษี สภ. , สท. , สส. ผ่านระบบเครือข่าย Server หน่วยบันทึกข้อมูล สายสัญญาณของ ของผู้รับจ้าง Application Software ผู้ให้บริการ Internet - ระบบ CIT - ระบบ TIN - ระบบ TCL - ระบบ VAT/SBT ระบบเครือข่ายสายสัญญาณ - ระบบ PIT ของผู้ให้บริการ Firewall Server Modem Server ระบบงานให้บริการ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบงาน Mainframe ยื่นแบบผ่าน Internet

  25. PIT เครื่องคอมพิวเตอร์ DatabaseServer - การให้บริการผู้เสียภาษีในปัจจุบัน CIT - การยื่นแบบผ่าน Internet VAT SBT - การสืบค้นข้อมูลของกรมสรรพากร ระบบคอมพิวเตอร์ของกรมสรรพากร เครื่องคอมพิวเตอร์ Database Server เครื่องคอมพิวเตอร์ ของระบบงานต่าง ๆ TIN, PIT, CIT, VAT Mainframe ระบบ Internet การให้บริการในอนาคต ระบบ Internet ระบบ Internet - ระบบ Call Center ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ของ Bank ซึ่งให้ ของ กสท. บริการรับยื่นแบบแทนกรมฯ

  26. Client Database Application Server Server Client ระบบงาน TIN Client เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบงาน TIN Server ของระบบงาน ระบบงาน PIT ระบบงาน TCL ระบบงาน TIN ระบบงาน CIT PIT, CIT เครื่องคอมพิวเตอร์ Client Server ของระบบงาน ระบบงาน TCL Client PIT, CIT, VAT/SBT ระบบงาน TCL Client ระบบงาน TIN ระบบงาน VAT/SBT ระบบงาน Security Client ระบบงาน TIN Client สภ. สท. - การใช้งานเพื่อเชื่อมต่อระบบงาน Internet - การใช้งานเพื่อเชื่อมต่อระบบงาน Intranet สส. เครื่องคอมพิวเตอร์ Mainframe - การใช้งานเพื่อเชื่อมต่อระบบงาน Internet Clientระบบงาน - การใช้งานเพื่อเชื่อมต่อระบบงาน Intranet PIT/CIT ภายใต้ระบบจำกัดเฉพาะในส่วนของงานที่ หน่วยงาน อนุญาต/เกี่ยวข้อง(ระบบงาน PIT/CIT/TIN) บันทึกข้อมูล ของผู้รับจ้าง ผ่านระบบ Internet ภายใต้เงื่อนไข - การเชื่อมต่อแบบ Internet Modem - การเชื่อมต่อแบบ Intranet (เฉพาะภายในองค์กร)

  27. ระบบTCL ระบบทะเบียนคุมรายการและจัดทำบัญชีผู้เสียภาษี (Transaction Control Log & Accounting) - รูปแบบการทำงาน แบบOnline Real Time -ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบ Client/Server - โดยมีเลขรหัสที่จัดทำโดยระบบที่สำคัญ 4 ชุด คือ เลขระบุเอกสาร เลขคุมเอกสาร เลขที่หนังสือแจ้งคืน/ประเมิน และเลขจัดชุดเอกสาร

  28. ระบบTCL เลขระบุเอกสาร (Unique Identification Document : UID) หมายความว่า ตัวเลขที่ระบบฯกำหนดขึ้นเพื่อใช้อ้างอิง หรือ ค้นหารายการข้อมูล มี 5 ส่วน จำนวน 25 หลัก ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 รหัสสำนักงานที่รับแบบฯ จำนวน 8 หลัก ส่วนที่ 2 ปี เดือน วัน ที่บันทึกข้อมูลในระบบฯ จำนวน 8 หลัก ส่วนที่ 3 ประเภทการยื่นแบบ ฯ จำนวน 1 หลัก รหัส 1 หมายถึง การยื่นแบบฯ ที่หน่วยจัดเก็บ

  29. ระบบTCL รหัส 2 หมายถึง การยื่นแบบฯ ด้วยสื่อบันทึกข้อมูล รหัส 3 หมายถึง การยื่นแบบฯ ทางอิเล็กทรอนิกส์ รหัส 4 หมายถึง การยื่นแบบฯ ผ่านธนาคาร รหัส 5 หมายถึง การยื่นแบบฯ ทางไปรษณีย์ รหัส 6 หมายถึง การยื่นแบบฯ ที่หน่วยงานภายนอก รหัส 7 หมายถึง การยื่นแบบฯ ที่จะได้กำหนดต่อไป รหัส 8 หมายถึง การยื่นแบบฯ ที่หน่วยจัดเก็บ กรณีเครือข่ายขัดข้อง (Off-Line Mode)

  30. ระบบTCL หลังจากที่นำข้อมูลเข้าสู่ระบบฯแล้ว (กรณียังไม่ได้นำข้อมูลเข้าสู่ระบบฯ จะเป็น รหัส “ T ” ) รหัส 9 หมายถึง การยื่นแบบฯ ที่หน่วยจัดเก็บกรณีที่ ไม่มีการติดตั้งระบบฯ ส่วนที่ 4 หมายเลขประจำเครื่องบันทึกข้อมูล จำนวน 2 หลัก ส่วนที่ 5 เลขลำดับที่เอกสาร จำนวน 6 หลัก (เริ่มต้นลำดับที่ 000001 ทุกวัน)

  31. ระบบTCL เลขคุมเอกสาร (Document Location Number : DLN) หมายความว่า ตัวเลขที่ระบบฯ กำหนดขึ้นสำหรับการเก็บ หรือค้นหาเอกสารที่ผ่านการบันทึกข้อมูลในระบบฯ มี 10 ส่วน จำนวน 42 หลัก ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 รหัสประเภทแบบฯ จำนวน 7 หลัก ส่วนที่ 2 รหัสสำนักงานที่รับแบบฯ จำนวน 8 หลัก ส่วนที่ 3 รหัสสำนักงานที่เป็นสถานประกอบการ/ ภูมิลำเนาของผู้เสียภาษี จำนวน 8 หลัก

  32. ระบบTCL ส่วนที่ 4 ประเภทการยื่นแบบฯ จำนวน 1 หลัก (ความหมายเดียวกับ UID) ส่วนที่ 5 หมายเลขประจำเครื่องบันทึกข้อมูล จำนวน 2 หลัก ส่วนที่ 6 ปี เดือน วัน ที่บันทึกข้อมูล จำนวน 8 หลัก ส่วนที่ 7 แสดงสถานะของผู้เสียภาษี จำนวน 1 หลัก รหัส 0 หมายถึง ผู้เสียภาษีที่ไม่อยู่ใน LTO รหัส 1 หมายถึง ผู้เสียภาษีที่อยู่ใน LTO

  33. ระบบTCL ส่วนที่ 8 แสดงสถานะของแบบฯ จำนวน 1 หลัก รหัส 0 หมายถึง แบบคำขอ รหัส 1 หมายถึง แบบฯ ที่ไม่มีเงินเรียกเก็บ รหัส 2 หมายถึง แบบฯ ที่มีภาษีต้องชำระ รหัส 3 หมายถึง แบบฯ ที่ขอคืนภาษีเป็นเครดิต รหัส 4 หมายถึง แบบฯ ที่ขอคืนภาษีเป็นเงินสด รหัส 5 หมายถึง แบบฯที่ขอคืนภาษีเข้าบัญชี เงินฝากธนาคาร

  34. ระบบTCL รหัส 6 หมายถึง แบบฯ ที่ขอคืนภาษีเป็นเช็ค รหัส 7 หมายถึง แบบฯ อื่น ๆ ส่วนที่ 9 เลขที่ชุดเอกสาร จำนวน 4 หลัก (เริ่มต้นลำดับ ที่ 0001 ทุกปีงบประมาณ) ส่วนที่ 10 เลขลำดับเอกสารในชุด จำนวน 2 หลัก (เริ่มต้นลำดับที่ 00 จนถึง 99)

  35. ระบบTCL เลขจัดชุดเอกสาร (Batch Number : BN) หมายความว่า ตัวเลขที่ระบบกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการจัดชุดเอกสารประกอบด้วยตัวเลขจำนวน 4 หลัก ตั้งแต่ 0001-9999 ต่อเนื่องกันไป แบบแสดงรายการที่อยู่ในชุดเอกสารเดียวกันหรือแบบคำขอที่อยู่ในชุดเอกสารเดียวกันจะถูกระบบฯ กำหนดให้เป็นเลขเดียวกันเมื่อขึ้นวันใหม่จะเริ่มต้นเลข 0001 ใหม่ โดยจะมีแบบฯ ซึ่งเป็นเลขเดียวกันได้ไม่เกิน 100 ฉบับ

  36. บทสรุป เนื่องจากระบบงานคอมพิวเตอร์ของกรมสรรพากรได้มีการพัฒนาบนระบบ Web Base Technology โดยเป็นการใช้งานผ่านทางเครือข่าย Internet การที่จะทำให้ระบบงานมีความเสถียร สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกเหนือจากการที่กรมฯ ได้จัดหา Hardware และ Software ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยแล้ว ผู้ใช้งานระบบฯ ถือเป็นปัจจัยหลักที่สำคัญที่จะต้องสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างจริยธรรมในการเข้าใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ อันจะทำให้ระบบสรรพากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Revenue) มีประสิทธิภาพสูงสุด

  37. ขอบคุณครับ

More Related