1 / 43

Asst. Prof. Dr. Vincent Ribière Bangkok University New York Institute of Technology (NYIT)

การจัดการความรู้ :. วิถีทางการพัฒนาสถาบันการศึกษา. การแบ่งปันความรู้ :. ประสบการณ์ระดับนานาชาติ. Asst. Prof. Dr. Vincent Ribière Bangkok University New York Institute of Technology (NYIT) vincent.r@bu.ac.th. Agenda - ลำดับการบรรยาย. การจัดการคุณภาพและการจัดการความรู้

benny
Télécharger la présentation

Asst. Prof. Dr. Vincent Ribière Bangkok University New York Institute of Technology (NYIT)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ : วิถีทางการพัฒนาสถาบันการศึกษา การแบ่งปันความรู้ : ประสบการณ์ระดับนานาชาติ Asst. Prof. Dr. Vincent RibièreBangkok University New York Institute of Technology (NYIT) vincent.r@bu.ac.th

  2. Agenda - ลำดับการบรรยาย • การจัดการคุณภาพและการจัดการความรู้ • Malcom Baldridge National Quality Award • แนวทางการจัดการความรู้ • การจัดการความรู้ด้านการศึกษา • สรุป

  3. QM & KM Similaritiesความเหมือนกันระหว่างการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ • ไม่ได้รับการสนับสนุนโดยทันทีและการยอมรับโดยทั่วไป (เป็นแนวโน้มการจัดการอีกประการหนึ่ง) • บางองค์กรก็ปฏิบัติทั้ง 2 แบบ(การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ) ก่อนที่จะกลายเป็นแนวคิดที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง • มีการอภิปรายว่า “คุณภาพ” และ “ ความรู้” นั้น เกี่ยวกับอะไร ข้อดี และผลกระทบต่อกำไรขององค์กร

  4. QM & KM Similaritiesความเหมือนกันระหว่างการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ • ใครควรเป็นผู้รับผิดชอบกับภาระหน้าที่นี้ในองค์กร • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพล้วนแต่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม • ความสำเร็จของทั้งการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงเป็นอย่างยิ่ง • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ อาจต้องการการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับโครงสร้างขององค์กร

  5. QM & KM Similaritiesความเหมือนกันระหว่างการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ • ผลตอบแทนการลงทุน (ROI)ของทั้งการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพนั้นยากที่จะวัดผล (ในระยะสั้น) • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพนั้นต้องอาศัยเรื่องเล่าเกี่ยวกับ “ผู้ชนะ” และ "ความสำเร็จ” เพื่อให้เกิดการ “ซื้อ” แนวคิดนี้ • เริ่มต้นจากระดับเล็กก่อน • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพต้องใช้โปรแกรมการฝึกอบรมที่ดี

  6. QM & KM Similaritiesความเหมือนกันระหว่างการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพมีศูนย์กลางที่ลูกค้า (ทั้งภายในและภายนอก) • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพสนับสนุนพันธกิจขององค์กรและกลยุทธ์ตลอดจนวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพมีแนวทางทางการนำไปใช้อย่างกว้างๆ (แบบนามธรรมและแบบทั่วไป) และนั่นอาจเป็นความล้มเหลวได้

  7. QM & KM Similaritiesความเหมือนกันระหว่างการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ • การจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ มีที่มาจาก “ครู” ชาวญี่ปุ่นเหมือนกัน (ด้านคุณภาพคือ Kaoru Ishikawa, Genichi Taguchi ส่วนด้านความรู้คือ Ikujiro Nonaka, Hirotaka Takeuchi) • ในการพัฒนา การนำมาใช้ และการคงรักษาไว้ซึ่งการจัดการความรู้และการจัดการคุณภาพ องค์กรต้องมีสิ่งต่อไปนี้ : ภาวะผู้นำ กระบวนการ วัฒนธรรม เทคโนโลยีในฐานะที่เป็นปัจจัยผลักดันที่สำคัญ และระบบการวัดผล

  8. KM The Missing Piece of the Quality Puzzle σ 6 TQM ISO NQAs 9000:2000 Juran once stated “in the United States, close to a third of the work done consisted of redoing what had been done before. Depending on the nature of the industry the cost of poor quality consumed between 20 and 40% of the total effort”.

  9. Agenda - ลำดับการบรรยาย • การจัดการคุณภาพและการจัดการความรู้ • MalcomBaldridge National Quality Award • แนวทางการจัดการความรู้ • การจัดการความรู้ด้านการศึกษา • สรุป

  10. MalcomBaldridge National Quality Award • Baldridge Award เป็นบรรทัดฐานระดับโลกของความล้ำ เลิศในการปฏิบัติงาน • ช่วยให้องค์กรผลักดันความสามารถในการแข่งขันโดยการมุ่ง ไปยังเป้าประสงค์ 2 ประการ • ส่งมอบคุณค่าที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลาให้กับผู้บริโภค • ปรับปรุงการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์กร

  11. MalcomBaldridge National Quality Award ISO 9000ครอบคลุมเพียงแค่ไม่ถึงร้อยละ 10 ของบรรทัดฐานที่ระบุในBaldridge Award องค์กรผลิต องค์กรการบริการ ธุรกิจขนาดเล็ก องค์กรการศึกษา องค์กรเพื่อสุขภาพ และองค์กรไม่หวังผลกำไร http://www.quality.nist.gov

  12. Organizational performance areas ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของนักศึกษา ผลลัพธ์ที่เกี่ยวกับนักศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และการตลาด ผลลัพธ์ที่เกี่ยวกับพนักงาน ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ซึ่งรวมถึงผลด้านการทำงานหลัก ผลลัพธ์ด้านภาวะผู้นำ ซึ่งรวมถึงผลด้านธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม

  13. Baldrige Education Criteria for Performance Excellence Framework:A Systems Perspective

  14. Management of Information Resources การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ • ท่านจะทำให้กลุ่มต่างๆ ต่อไปนี้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ต้องการอย่างเหมาะสมได้อย่างไร ได้แก่พนักงาน นักศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ขายสินค้าให้องค์กร คู่ค้า และผู้ร่วมทุน • ท่านสามารถรับประกันได้หรือไม่ว่า hardware และ software ที่มีนั้นเชื่อถือได้ ปลอดภัย และเป็นมิตรกับผู้ใช้ (ใช้ง่าย) • ..........

  15. Data, Information, and Knowledge Management การจัดการข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ ท่านสามารถรับประกันคุณสมบัติต่อไปนี้ของ ข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ ในองค์กรของท่านได้หรือไม่ • ความถูกต้องเที่ยงตรง • ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและความน่าเชื่อถือ • ไม่ล้าสมัย • ความปลอดภัยและความลับ

  16. Data, Information, and Knowledge Management การจัดการข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ ท่านจัดการความรู้ต่อไปนี้อย่างไรเพื่อให้บรรลุสิ่งที่ต้องการดังต่อไปนี้ • การรวบรวมและส่งผ่านความรู้ของพนักงาน • การส่งผ่านความรู้ที่เกี่ยวข้องไป-มากับนักศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ขายสินค้าให้กับองค์กร คู่ค้า และผู้ร่วมทุน • การระบุ การแบ่งปัน และการนำมาใช้ที่รวดเร็วอย่างมีประสิทธิภาพ • การประมวลและส่งผ่านความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในกระบวนการการวางแผนเชิงกลยุทธ์

  17. European Foundation for Quality Management http://www.efqm.org

  18. Agenda - ลำดับการบรรยาย • การจัดการคุณภาพและการจัดการความรู้ • MalcomBaldridge National Quality Award • แนวทางการจัดการความรู้ • การจัดการความรู้ด้านการศึกษา • สรุป

  19. Knowledge Management Processes People KM Technology

  20. 2 KM Approaches แนวทางการจัดการความรู้ 2 แบบ Codification(มิติในการรวบรวม - มีศูนย์กลางที่เอกสาร) Personalization(มิติด้านการติดต่อ) มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายเพื่เชื่อมโยงบุคคลต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อแบ่งปันข้อมูลแฝงต่างๆ ลงทุนด้าน IT ปานกลาง ประโยชน์คือการทำให้ข้อมูลความรู้ ต่างๆ ส่งผ่านกันได้สะดวกขึ้น มีจุดประสงค์เพื่อรวบรวม ระบุรหัส และเผยแพร่ข่าวสาร ขึ้นอยู่กับ IT อย่างมาก ประโยชน์ประการหนึ่งคือการใช้ความรู้ซ้ำ (Hansen, Nohria, and Tierney 1999)

  21. SECI Model (Nonaka) Explicit Tacit To Tacit Externalization Codification Write a report, best practices, lessons learned Socialization: Water cooler, Conferences, Apprenticeship From CombinationCollecting externalized K and combination(presentation, report, plan) Internalization: Learning by doing,training, exercises Explicit

  22. KM and Technology!

  23. Best practices Repository Best Practices Database: http://www.educause.edu/ep • Title of the practice • A brief description of the challenge that led to your practice • A brief description of the practice • A brief list of benefits of the practice • An estimate of the costs (including human resources) of implementing the practice • Your assessment of how replicable the practice is (on a scale of 1-5) • A list of up to five URLs where information related to the practice can be found

  24. “Hot” Technologies • Podcasting is a means of distributing audio and video programs via the Internet that lets users subscribe to a number of files, also known as a "feed" and then to hear or view the material at the time that they choose. (source: Wikipedia) • Blogs , Wikis, Social networks

  25. Digital Dashboards Example: http://www.gsu.edu/18338.html

  26. Agenda - ลำดับการบรรยาย • การจัดการคุณภาพและการจัดการความรู้ • MalcomBaldridge National Quality Award • แนวทางการจัดการความรู้ • การจัดการความรู้ด้านการศึกษา • สรุป

  27. Some facts - ข้อเท็จจริงบางประการ • วิสัยทัศน์ :การค้นพบและส่งผ่านความรู้ • ส่งผ่านความรู้ผ่านทาง • การสอน (ครู-นักเรียน ; นักเรียน-แหล่งความรู้ต่างๆ ; นักเรียน-นักเรียน) • การวิจัย • วารสารทางวิชาการ • การให้บริการ • การประเมินผล

  28. Some facts - ข้อเท็จจริงบางประการ • โครงสร้างองค์กรแบบไม่รวมศูนย์ (คณะ แผนก หน่วยงาน) - ยังคงรักษาไว้ซึ่งแหล่งข้อมูลที่เป็นเอกเทศ • การปรับเปลี่ยนการศึกษาระดับอุดมศึกษา เนื่องจาก - การแข่งขัน - ความเสมือนจริง (เทคโนโลยีด้านอินเทอร์เน็ต) - การเป็นนานาชาติ

  29. Some Questions - คำถามบางประการ โปรแกรมและบริการใดที่เป็นส่วนสำคัญของพันธกิจของเรา เราจะสนองความต้องการของนักศึกษาได้ดีขึ้นอย่างไร การแทรกแซงของนักศึกษาแบบใดที่มีประสิทธิผลที่สุด เราจะปรับปรุงผลลัพธ์ด้านนักศึกษาได้อย่างไร เรารู้ในสิ่งที่เรารู้หรือไม่ เรารู้ในสิ่งที่เราไม่รู้หรือไม่ Source: Petrides, Nodine, 2003)

  30. What is needed? - สิ่งที่ต้องการ ภาวะผู้นำ- ต้องทำให้อาจารย์ “ซื้อ” แนวคิดนี้ การฝึกอบรม การจัดการความรู้ต้องสัมพันธ์กับเป้าประสงค์ ของบุคคลและหน่วยงาน ระบบการให้รางวัล วัฒนธรรมการประมวลความรู้ร่วมกัน และการแบ่งปันความรู้ ผู้นำด้านการจัดการความรู้ (CKO?) Awareness programs & Champions Integrate KM to daily activities

  31. Aligning KM & QM Strategieswith Business Strategy Strategic plan Business Environment Impacts Enables Drives Impacts KM & QM strategies IT strategy Enables

  32. What is needed (Cont.) • Encourage collaboration • Communities of Practice (CoP) • Interdisciplinary Research • Collaborative learning , e-learning • Interdepartmental task forces • Promote a culture/climate of: • Trust • Collegiality

  33. What is needed (Cont.) • Use technology as an enabler • Integrate your various data repository • Make data and information available to who ever might need it !

  34. Agenda - ลำดับการบรรยาย • การจัดการคุณภาพและการจัดการความรู้ • MalcomBaldridge National Quality Award • แนวทางการจัดการความรู้ • การจัดการความรู้ด้านการศึกษา • สรุป

  35. Excellence$ Integration + Culture = Higher Benefits Knowledge sharing culture QM Learning organization & e-learning Excellence $$$$ Innovation KM

  36. Knowledge Management +

  37. Barriers to KM success “What’s happened here is 90% culture change. You need to change the way you relate one another. If you don’t do that, you won’t succeed” CEO of Buckman Labs “Take a look at your culture before launching a knowledge initiative” (Davenport and Prusak 1998)

  38. Barriers to KM success Results from an international survey: • Organizational Culture 80% • Lack of Ownership 64% • Info/Comms Technology 55% • Non-Standardized Processes 53% • Organizational Structure 54% • Top Management Commitment 46% • Rewards / Recognition 46% • Individual vice Team Emphasis 45% • Staff Turnover 30% Ernst & Young KM International Survey, 1996 (431 senior executive responses)

  39. Implementation Challenges • 41% Employees have no time for KM • 36.6% Current Culture does not encourage sharing • 29.5 % Lack of understanding of KM benefits • 24.5% Inability to measure financial benefits of KM • 22.7% Lack of skills in KM techniques • 22.2% Organization's processes are not designed for KM • 21.8% Lack of funding for KM • 19.9% Lack of incentives, rewards to share • 18.7% Have not yet begun implementing KM • 17.4% Lack of appropriate technology • 13.9% Lack of commitment from Senior management • 4.3% No challenges encountered KM Magazine and IDC (May 2001 – 566 respondents)

  40. KM Review Nov/Dec 2001

  41. Organizational Culture Networked "Between friends" Communal "We are family" High Trust Fragmented "All togetheralone" Mercenary "Get to work on Sunday" Low Low High Solidarity

  42. Influence of Cultures National Culture Corporate Culture CorporateSub-cultures CorporateSub-cultures CorporateSub-cultures CorporateSub-cultures CorporateSub-cultures

More Related