1 / 21

เสียง หรือ ออดิโอ

เสียง หรือ ออดิโอ. สมาชิคในกลุ่ม. 1.ด.ช.ภาคภูมิ มาโน เลขที่12 2 .ด.ช.สาธิต ตาวงศ์ เลขที่15 3 .ด.ช.วรวัฒน์ จันตา เลขที่14 4.ด.ช.ภาคภูมิ เพรียจิต เลขที่ 20. ทำความรู้จักกับเสียง.

blaze
Télécharger la présentation

เสียง หรือ ออดิโอ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เสียง หรือ ออดิโอ

  2. สมาชิคในกลุ่ม 1.ด.ช.ภาคภูมิ มาโน เลขที่12 2.ด.ช.สาธิต ตาวงศ์ เลขที่15 3.ด.ช.วรวัฒน์ จันตา เลขที่14 4.ด.ช.ภาคภูมิ เพรียจิต เลขที่ 20

  3. ทำความรู้จักกับเสียง  เสียง เป็นคลื่นกลที่ใช้อากาศเป็นพาหะ เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศ ไปยังหู แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านก๊าซ ของเหลว และของแข็งก็ได้ แต่ไม่สามารถเดินทางผ่าน สุญญากาศ เช่น ในอวกาศ ได้ เมื่อการสั่นสะเทือนนั้นมาถึงหูของเรา มันจะถูกแปลงเป็นพัลส์ประสาท ซึ่งจะถูกส่งไปยังสมอง ทำให้เรารับรู้และจำแนกเสียงต่างๆ ได้

  4. การวัดคลื่นเสียง การวัดระดับของคลื่นเสียงจะมีหน่วยวัดที่เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ 2 หน่วย คือ เดซิเบลซึ่งเป็นหน่วยวัดความดังของเสียงและเฮิรตซ์ หรือจำนวนรอบของการแกว่งคลื่นเสียงในหนึ่งวินาที ซึ่งเป็นหน่วยวัดความถี่ของเสียง โดยสามารถแสดงระดับความดังและชนิดของเสียงได้ ดังนี้

  5. องค์ประกอบของระบบเสียงองค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึกจัดและเล่นเสียงแต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง ลำโพง และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง

  6. ไมโครโฟน ไมโครโฟน คืออุปกรณ์รับเสียงแล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยายเสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่น ๆ ไมโครโฟนประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบตัวรับในไมโครโฟน จะทำให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทำงานตรงข้ามกับลำโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง

  7. ชนิดของไมโครโฟน 1คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน 2ไมโครโฟนชนิดรับเสียงรอบทิศทาง 3.ไมโครโฟนชนิดรับสียงแบบสองทิศทาง 4. ไมโครโฟนชนิดรับเสียงแบบทิศทางเดียว

  8. เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เป็นอุปกรณ์สำหรับการขยายสัญญาณอินพุตให้มีความดังหรือแอมพลิจูตเพิ่มขึ้นโดยเครื่องขยายเสียงจะประมวลผลสัญญาณโดยใช้ชุดของทรานซิสเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่บนแผงวงจรและใช้พลังงานจากพาวเวอร์ซับพลาย โดยสัญญาณอินพุตจะถูกขยายให้มีแอมพลิจูตเพิ่มขึ้นแต่มีรูปแบบคลื่อนเหมือนเดิม

  9. ลำโพง Speaker ลำโพง Speaker ลำโพง Speakerเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแปลงพลังงานทางไฟฟ้ากลับเป็นพลังงานเสียง ซึ่งมีฟังก์ชันการทำงานตรงข้ามกับไมโครโฟนหรือเครื่องขยายเสียง โดยจะทำหน้าที่ได้รับมาจากเครื่องขยายเสียง สามารถแบ่งลำโพงออกเป็น 2 ชนิดได้แก่ ลำโพงแบบไดนามิก(Dynamic Speaker) และลำโพงชนิดเสียงทุ้ม (Woofer) กับลำโพลงชนิดเสียงแหลม (Tweeter)

  10. ชนิดของลำโพง 1. ลำโพงแบบไดนามิก 2. ลำโพงชนิดเสียงทุ้ม (Woofer) และลำโพงชนิดเสียงแหลม (Tweeter)

  11. อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง (Volumn) จังหวะ (Tempo) และระงับเสียง (Mute) ซึ่งการแก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มเอฟเฟ็กต์เสียงแบบพิเศษ เช่น เสียงคอรัส เสียงเอคโค หรือเสียงจากอุปกรณ์ไฟฟ้าได้ จากนั้นแทร็กเหล่านี้จะถูกผสมผสานในช่องสัญญาณ หากเป็นระบบเสียงสเตอริโอจะใช้ 2 ช่องสัญญาณ แต่ถ้าเป็นระบบเสียงเซอราวด์จะใช้มากกว่า 2 ช่องสัญญาณขึ้นไป

  12. ประเภทของเสียง • ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เสียงแบบมิดี้ และเสียงแบบดิจิตอล

  13. องค์ประกอบสำคัญของการ์ดเสียงมี ดังนี้ ได้แก่ 1.หน่วยความจำ 2.ตัวประมวลผลสัญญาณการ์ดเสียงจะมีตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล 3.ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก และตัวแปลงสัญญาณจากอนาล็อกเป็นดิจิตอล 4.พอร์ตอินพุต และพอร์ตเอาท์พุตของเสียง

  14. การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Audio File) การประมวลผลไฟล์เสียงมีอยู่ 2 ชนิด ดังนี้ 1. Wave File 2. MIDI File

  15. การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Sound) การประมวลผลไฟล์เสียง (processing Sound) คือ กระบวนการต่างๆตั้งแต่นำไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับสร้าหรือแก้ไขเสียงโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม MidiNotateเป็นต้น จากนั้นจะปรับแต่ง แก้ไข หรือเพิ่มเติมตัวโน้ตต่างๆเข้าไปตามความต้องการ แล้วทำการทดสอบเสียงที่ได้ และนำไฟล์เสียงไปใช้งานต่อไป

  16. การบันทึกหรือการนำเข้าข้อมูลเสียงการบันทึกหรือการนำเข้าข้อมูลเสียง การบันทึกเสียง เป็นการนำเสียงที่ได้จากการพูด การเล่นเครื่องดนตรีหรือเสียงจากแหล่งต่างๆ เช่นเสียงน้ำตก ฟ้าร้อง หรือเสียงสัตว์ มาทำการจัดเก็บลงในหน่วยความจำ เพื่อนำไปใช้งานตามต้องการ

  17. การแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษการแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ การแก้ไขไฟล์เสียง (Sound Editing) คือ การตัดต่อ และการปรับแต่งเสียง โดยสิ่งสำคัญในการแก้ไขเสียง คือ การจัดสรรเวลาของการแสดงผลให้สัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้งานร่วมกับเสียง เช่น การตัดต่อเสียงสำหรับนำมาใช้ในการนำเสนอไฟล์วีดีโอ ผู้ตัดต่อจะต้องแสดงภาพของวีดีโอให้สัมพันธ์กับเสียง เป็นต้น ในปัจจุบันมีซอร์ฟแวร์สำหรับแก้ไข ปรับแต่ง หรือเพิ่มเทคนิคพิเศษให้มัลติมีเดีย (เสียง ภาพ และวีดีโอ เป็นต้น) มีความสมบูรณ์ และน่าสนใจมากยิ่งขึ้นเป็นจำนวนมาก

  18. ออดิโอกับมัลติมิเดีย วัตถุประสงค์หลักในการนำเสียงเข้ามาประยุกต์ใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย คือ เพื่อให้เข้าใจถึงเนื้อหาที่ต้องการนำสนอและลดการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบที่ซ้ำซ้อน (Redundancy) รวมถึงเพิ่มโอกาสการสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทางที่หลากหลายยิ่งขึ้นก่อนจะนำเสียงมาใช้ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับเสียงประเภทต่างๆดังนี้

  19. ประเภทของเสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย เสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดียมีหลายประเภท ได้แก่ เสียงพูด เสียงเพลง เสียงเอฟเฟ็กต์ มี4ชนิด 1. เสียงเอฟเฟ็กต์ธรรมชาติ 2. เสียงเอฟเฟ็กต์สังเคราะห์ 3. เสียงเอฟเฟ็กต์ที่อยู่รอบๆ 4. เสียงเอฟเฟ็กต์พิเศษ

  20. ขั้นตอนการนำเสียงมาใช้งาน 1.ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับงานที่ออกแบบไว้ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอ หรือเสียงพูด 2.เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดงเสียงให้เหมาะสมด้วย 3.ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบมิดี้ หรือใช้เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่ 4.พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งานจึงจะเหมาะสม 5.นำไฟล์เสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมิเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับงานมัลติมิเดียที่ทำการผลิต 6.ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่นำเสนอมีความสัมพันธ์กับภาพในงานมัลติมเดียที่ผลิตขึ้น หากไม่สัมพันธ์กันต้องทำตามขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 ซ้ำแล้วให้ทดสอบใหม่จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

  21. จบการนำเสนอ

More Related