1 / 15

สรุปสาระสำคัญ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....

สรุปสาระสำคัญ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย. เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม ในกระบวนการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพของประเทศ. ลักษณะพิเศษของกฎหมาย เป็นกฎหมายเชิงบริหาร ที่มีผลบังคับต่อหน่วยงานภาครัฐ

boris-dean
Télécharger la présentation

สรุปสาระสำคัญ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย

  2. เจตนารมณ์ของกฎหมายเพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม ในกระบวนการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพของประเทศ ลักษณะพิเศษของกฎหมาย • เป็นกฎหมายเชิงบริหาร ที่มีผลบังคับต่อหน่วยงานภาครัฐ • สภาพบังคับต่อหน่วยงานรัฐ จะเป็นกรณีการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ • บทกำหนดโทษ มีอยู่มาตราเดียวเรื่องการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล • คุ้มครองสิทธิของประชาชน และ ไม่มีสภาพบังคับต่อประชาชน

  3. คำนิยามที่สำคัญ • “ระบบสุขภาพ” หมายความว่าระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ • “บริการสาธารณสุข” หมายความว่า บริการต่างๆ อันเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยและบำบัดสภาวะความเจ็บป่วยและการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน • “สมัชชาสุขภาพ” หมายความว่า กระบวนการที่ให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเรียนรู้อย่างสมานฉันท์ เพื่อนำไปสู่การเสนอแนะนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพหรือความมีสุขภาพของประชาชน โดยจัดให้มีการประชุมอย่างเป็นระบบและอย่างมีส่วนร่วม

  4. สิทธิ-หน้าที่ของประชาชนตามกฎหมายสิทธิ-หน้าที่ของประชาชนตามกฎหมาย • มีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และ มีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่จะดำเนินการ • ได้รับการคุ้มครอง เรื่องข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล • มีสิทธิได้รับแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการอย่างเพียงพอ เพื่อการตัดสินใจ (ยกเว้น...) หากปฏิเสธการรับบริการ จะให้บริการนั้นไม่ได้ • มีหน้าที่แจ้งข้อมูลการเจ็บป่วยต่อผู้ให้บริการ ถ้าปกปิด/แจ้งเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายจากการให้บริการ • มีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์ที่จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต

  5. การคุ้มครองสุขภาพสตรี & กรณีจัดทำโครงการ/กิจการ มาตรา 6 สุขภาพของหญิงที่หมายถึงสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ของหญิงซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มคนต่างๆที่มีความจำเพาะในเรื่องสุขภาพต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสมด้วย มาตรา 11 บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการอนุญาตหรือการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว

  6. กลไกการดำเนินการตามกฎหมายสุขภาพกลไกการดำเนินการตามกฎหมายสุขภาพ • - กระทรวงสาธารณสุข • - กระทรวงอื่น ๆ • - ส่วนราชการต่างๆ ครม. • - แต่งตั้ง • - วางนโยบาย • - กำกับดูแล คสช. คกก.บริหาร • นายกรัฐมนตรี/รองฯที่ได้รับมอบหมาย • รัฐมนตรีว่าการะทรวงสาธารณสุข • รัฐมนตรีอื่นอีก 5 คน • ประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ ฯ • ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 คน • ผู้แทนองค์กรวิชาชีพองค์กรละ 1 คน • ผู้แทนคณะกรรมการวิชาชีพ 1 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุขอีก 6 คน และ • ผู้แทนองค์กรเอชน(ไม่หากำไร)อีก 12 คน • ประธานแต่งตั้งมาจาก คสช. 1 คน • ผู้แทนการะทรวง สธ. 1 คน • ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 5 คน • เลขาธิการ คสช. เป็นเลขานุการ • - ตัดเลือกเลขาธิการ • - กำกับดูแล/อนุมัติ • - วางระเบียบ • - ประเมินผล สำนักงาน คสช. (เลขาธิการ คสช.)

  7. กลไกการดำเนินการตามกฎหมายสุขภาพ (ต่อ) ครม. • -กระทรวงสาธารณสุข • -กระทรวงอื่น ๆ • -ส่วนราชการต่างๆ เห็นชอบ • - ธรรมนูญฯ • - นโยบาย • - ยุทธศาสตร์ คสช. เสนอ มีผลให้ต้องปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ คกก. บริหาร สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คกก. จัดสมัชชาฯ สมัชชาเฉพาะประเด็น สมัชชาเฉพาะพื้นที่ สำนักงาน คสช. สนับสนุน องค์กรภาคประชาชน / ประชาชนในพื้นที่ /ประชาชนที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ

  8. ธรรมนูญสุขภาพ ผลและขั้นตอนการจัดทำ • ต้องคำนึงถึงข้อเสนอของสมัชชาด้วย • เมื่อ ครม.เห็นชอบ ต้องรายงานต่อ สภาผู้แทน & วุฒิสภา และประกาศในราชกิจจานุเบกษา • ธรรมนูญที่ผ่าน ครม.เห็นชอบ มีผลผูกพันหน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ กรอบของธรรมนูญสุขภาพ ประกอบด้วย • ปรัชญา แนวติดหลัก • เป้าหมายที่พึงประสงค์ระบบสุขภาพ • หลักประกัน ความคุ้มครองสุขภาพ • การสร้างเสริมสุขภาพ • การป้องกัน&ควบคุมปัจจัยคุกคาม • การบริการ&ควบคุมคุณภาพ • ส่งเสริมภูมิปัญยาท้องถิ่น แพทย์ทางเลือก • การคุ้มครองผู้บริโภค • การเผยแพร่องค์ความรู้ • การผลิต&พัฒนาบุคลากร • การเงินการคลัง

  9. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา • กรมอนามัยจะเตรียมข้อมูลและข้อเสนอ เพื่อการจัดทำกรอบในว่าด้วยการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมใน ธรรมนูญฯ อย่างไร? • กรมอนามัยจะเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคี เครือข่าย อย่างไร? เพื่อเตรียมเป็นส่วนหนึ่งของสมัชชาสุขภาพ ทั้งระดับชาติ / พื้นที่ / เฉพาะประเด็น • กรมอนามัยจะเตรียมการพัฒนาระบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) อย่างไร? • กรมอนามัยอาจต้องเตรียมการปรับปรุงกฎหมายการสาธารณสุข ให้มีบทบัญญัติว่าด้วย HIA และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการบังคับใช้กฎหมายของ อปท.

  10. Six Key Functions to High Performance Organization Organization Development R & D M & E Consumer Protection Knowledge Management Healthy People Healthy Thailand Provider Support Information Funder Alliance Surveillances M & E Human Resource Development

  11. ระบบสุขภาพ & การบริหารจัดการ รมต.สธ. (1/36) คสช. สวรส. • นโยบาย อนุกรรมการ /คณะทำงาน • อำนวยการ • ปฏิบัติการตาม กม. • กำกับ สนับสนุนปฏิบัติการ • จัดบริการ • คุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ • มีผู้แทน • ร่วมกำหนด • ร่วมพัฒนา • รมต.สธ. • ปลัด สธ. (2/36) กระทรวง สธ. สปสช. สิ่งที่ต้องปรับเปลี่ยน (1) บทบาท / ภารกิจหน้าที่ (2) โครงสร้างองค์กร อนุกรรมการ /คณะทำงาน • มีผู้แทน • ร่วมกำหนด • ร่วมพัฒนา (3) ระบบงาน - กระบวนงาน - กลไกการเชื่อมประสานงาน

  12. สป. สนย. ระบบงานสาธารณสุข ที่กระทรวง สธ. ต้องเตรียมการรองรับ กระจายอำนาจ? ข้อยุติเชิง นโยบาย คสช. • สป. • กรม • ภูมิภาค กระทรวง สาธารณสุข สวรส. อปท. ข้อยุติเชิง ปฏิบัติ สปสช. กรม... ภายใน ภายนอก E x p e r t F o r u m เตรียมการภายใน สธ. ในแต่ละ Area / Issue /ภารกิจ เตรียมการ & หาข้อสรุปเบื้องต้น ในแต่ละ Area / Issue /ภารกิจ

  13. Bangkok Charter for Health Promotion In Globalised World • Policy • Infrastructure • Action Partner Invest • Policy development • Leadership • Practice • Knowledge management • Health literacy Bangkok Charter For Health Promotion Commitment to Health For All • Make the promotion of health • Global development agenda • Government core responsibility • Key focus of communities • and civil society • Good corporate practices Build Capacity Regulate Advocacy

  14. กฎบัตรกรุงเทพ : กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพในยุคโลกาภิวัฒน์ • นโยบาย • โครงสร้างพื้นฐาน • ปฏิบัติการ พันธมิตร การลงทุน • พัฒนานโยบาย • ภาวะผู้นำ • การปฏิบัติที่ดี • การจัดการความรู้ • รู้เท่าทันสุขภาพ Bangkok Charter For Health Promotion พันธสัญญาสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า • ทำให้การส่งเสริมสุขภาพ • วาระการพัฒนาโลก • ความรับผิดชอบของรัฐ • เป้าหมาย ชุมชน ประชาสังคม • ข้อกำหนดที่ดีของบรรษัท การสร้าง ศักยภาพ การสร้าง กระแส กฎหมาย กฎ ระเบียบ

  15. กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีกรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี สวัสดี

More Related