1 / 61

การจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)

การจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue). 2. แผนผังการเบิกจ่ายค่าบริการทางการแพทย์. 1. ทำ /update drug catalogue ของ รพ. 2. ส่งข้อมูลบริการเพื่อเบิกจ่าย. หน่วยบริการ. 3 . ตรวจสอบข้อมูล กับ Drug Catalogue (บัญชีขายยา)ของ รพ. 4.1 จ่ายชดเชยกรณีข้อมูลตรงตามที่ รพ. แจ้งไว้.

brendad
Télécharger la présentation

การจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำบัญชีข้อมูลยาการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของรพ.สต. (Drug Catalogue)

  2. 2. แผนผังการเบิกจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ 1. ทำ/updatedrug catalogue ของ รพ. 2. ส่งข้อมูลบริการเพื่อเบิกจ่าย หน่วยบริการ 3.ตรวจสอบข้อมูล กับ Drug Catalogue (บัญชีขายยา)ของ รพ. 4.1 จ่ายชดเชยกรณีข้อมูลตรงตามที่ รพ. แจ้งไว้ 4.2 กรณีข้อมูลไม่ตรงตามที่ รพ. แจ้งไว้ ระงับการจ่าย

  3. 3. DrugCatalogueคืออะไร? DrugCatalogueคืออะไร? • ข้อมูลบัญชีรายการยาของโรงพยาบาลที่ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการบันทึกการให้บริการทางการแพทย์และการทำธุรกรรมต่างๆ • ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการบันทึกการรักษาด้วยยา • ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการสั่งยาการจ่ายยา • ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงราคาขายยาหรือข้อมูลอ้างอิงในการทำธุรกรรม • ใช้ในการประมวลผลข้อมูลด้านคลินิกและค่าใช้จ่ายด้านยา

  4. What need to do? Data Dictionary: Drug Catalogue

  5. ข้อกำหนดและรูปแบบของข้อมูลยาที่ส่งเบิก version3.7

  6. 4. ขั้นตอนการจัดทำบัญชีข้อมูลยาของโรงพยาบาลใน Website สปสช. (Drug Catalogue)

  7. ขั้นตอนที่เกี่ยวกับ การจัดทำบัญชีข้อมูลยา (Drug Catalogue)

  8. www.nhso.go.th

  9. www.nhso.go.th

  10. กลุ่ม “ระบบยา” --> เมนู “สืบค้นรหัสยามาตรฐาน”

  11. http://drug.nhso.go.th/DrugCode/

  12. http://drug.nhso.go.th/drugcatalogue/ ชื่อผู้ใช้งาน และ รหัสผ่านขอได้ที่สปสช. เขต ชื่อผู้ใช้งาน และ รหัสผ่านขอได้ที่สปสช. เขต

  13. เมนู สำหรับ ระบบ Drug Catalogue

  14. เพิ่มยารายการยาใหม่ (ONLINE)

  15. 1. เพิ่มยารายการยาใหม่ (ONLINE)

  16. What need to do? Data Dictionary: Drug Catalogue

  17. ค้นหา TMTID

  18. 1. เพิ่มยารายการยาใหม่ (ONLINE) ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ก่อนบันทึกข้อมูล

  19. 2. รายการยาที่รอ ตรวจสอบ หน้าจอ จะแสดงรายการยาที่ รอ ตรวจสอบ ** ยังสามารถลบรายการยาออกจากบัญชีข้อมูลยา ได้ **

  20. 3. รายการยาที่ตรวจสอบแล้วผ่าน

  21. 4. รายการยาที่ตรวจสอบแล้วไม่ผ่าน ** ยังสามารถลบรายการยาออกจากบัญชีข้อมูลยา ได้ **

  22. ระยะเวลารอคอยผลการตรวจสอบข้อมูลสปสช.เขต 10 อุบล กรณีรายการยาในระบบไม่เกิน 100-300 รายการ </ 3 days กรณีรายการยาในระบบ 301– 800 รายการ </ 15 days กรณีรายการยาในระบบเกิน 1000 รายการขึ้นไป </ 20 days กรณีติดภารกิจนอกพื้นที่ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไปหรือมีวันหยุดยาว- ในเดือน ทุกจำนวนรายการยา </ 30 days

  23. 6. ปัญหาการเบิกจ่าย E-Claim ที่เกี่ยวข้องกับระบบ Drug catalog

  24. รหัส C ในโปรแกรม E-Claim

  25. C 562 • รายละเอียด: รายการยาที่บันทึกเบิกไม่พบใน Drug Catalog ของหน่วยบริการ • สาเหตุของปัญหา: • หน่วยบริการไม่ได้ Download บัญชีรายการยาตัวล่าสุดมาใช้ในโปรแกรม E-claim • ส่วนของการจัดการ Drug catalog กับ ส่วนของการจัดการการเบิกจ่าย Claim เป็นคนละส่วนกันในหน่วยบริการ โดยไม่ได้มีการประสานงานกัน ทำให้มีการเบิกจ่ายรายการยาที่ไม่มีบัญชียา Drug catalog • การ Update HIS ของหน่วยบริการกับบนบัญชีรายการยาที่ Drug catalog ไม่ตรงกัน • ปัญหานี้ส่วนมากเกิดกับหน่วยบริการที่บันทึกการเบิกจ่าย โดยการ Import 16 แฟ้มบนโปรแกรม E-claim

  26. C 564 • รายละเอียด:ประเภทยาในบัญชียาหลัก (ED) หรือยานอกบัญชียาหลัก(NED) ที่ บันทึกส่งไม่ตรงกับ Drug Catalog ที่ส่ง สปสช. เฉพาะสิทธิ UC • สาเหตุของปัญหา: • สถานะรายการยา ED/NED ของหน่วยบริการในบัญชีรายการยา Drug catalog รายการที่ส่งมาเพื่อเบิกจ่ายกับ E-Claim ไม่ตรงกับสถานะรายการยา EDNED ในฐานกลางของ สปสช • หน่วยบริการไม่ได้ Download บัญชีรายการยาตัวล่าสุดมาใช้ในโปรแกรม E-claim

  27. C 564 ISED_STATUS : 01 = ใช้สถานะรายการยา ED/NED จากฐานกลางของ สปสช 99 = ใช้สถานะรายการยา ED/NED จากที่หน่วยบริการบันทึกในบัญชีรายการยา Drug catalog

  28. content • ประกอบด้วย ปริมาณตัวยา หน่วย Dosageformเช่น • 500 mg tablet • 250 mg capsule • 180 ml bottle • 200 dose actuation • 1 ml ampoule • 1 g vial • 5 g tube

  29. ช่องทางการติดต่อ เมื่อติดปัญหา สำหรับระบบDrug Catalogue IT HELPDESK e-mail  ithelpdesk@nhso.go.th  โทรศัพท์  02 141 4200

  30. ผู้ตรวจสอบและอนุมัติการMapping Drug Catalogue พื้นที่สปสช.เขต 10 อุบลฯ

  31. การดาวน์โหลดยา ที่ผ่านการตรวจสอบ เพื่อนำเข้า E-Claim e-Claim ต้องนำเข้าข้อมูล drug catalog เป็นขั้นตอนสำคัญ หากไม่ดำเนินการจะไม่สามารถบันทึกเบิกค่ายา เพื่อเบิก-จ่าย ค่ารักษาพยาบาลได้

  32. การดาวน์โหลดยา ที่ผ่านการตรวจสอบ เพื่อนำเข้า E-Claim

  33. การดาวน์โหลดยา ที่ผ่านการตรวจสอบ เพื่อนำเข้า E-Claim คลิก นำเข้าข้อมูล Drug catalog

  34. การนำเข้า Drug Catalougeสำหรับ E-Claim

  35. การนำเข้า Drug Catalougeสำหรับ E-Claim

  36. การนำเข้า Drug Catalougeสำหรับ E-Claim

  37. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim

  38. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim แท็บ ข้อมูลทั่วไป เป็นข้อมูลเกี่ยวกับคนไข้ HN เลขประจำตัวประชาชน คำนำหน้า ชื่อ – สกุล วัน เดือน ปี เกิด เพศ น้ำหนัก สถานภาพสมรส สัญชาติ อาชีพ วันที่รับบริการ เวลา

  39. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim

  40. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim แท็บ การวินิจฉัย

  41. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim แท็บ การวินิจฉัย

  42. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim แท็บ ค่ารักษาพยาบาล

  43. การเคลมสิทธิ อปท.สำหรับ E-Claim แท็บ ค่ารักษาพยาบาล

  44. การส่งออกข้อมูล อปท.สำหรับ E-Claim เมนู บริการ ส่งออกข้อมูล

  45. การส่งออกข้อมูล อปท.สำหรับ E-Claim เมนู บริการ ส่งออกข้อมูล

  46. การส่งออกข้อมูล อปท.สำหรับ E-Claim เมนู บริการ ส่งออกข้อมูล

  47. การนำข้อมูล E-Claim เข้าสู่ เว็บ E-Claim http://eclaim.nhso.go.th

  48. การนำข้อมูล E-Claim เข้าสู่ เว็บ E-Claim http://eclaim.nhso.go.th

  49. การนำข้อมูล E-Claim เข้าสู่ เว็บ E-Claim http://eclaim.nhso.go.th

More Related