1 / 55

รัชนีกร ไข่หิน

ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการป้องกันการติดเชื้อใน ผู้ป่วย ไต วายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง อำเภอ อาจสามารถ จังหวัด ร้อยเอ็ด. รัชนีกร ไข่หิน พยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลอาจสามารถ. สถานการณ์.

caleb-mays
Télécharger la présentation

รัชนีกร ไข่หิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการป้องกันการติดเชื้อในผู้ป่วยผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการป้องกันการติดเชื้อในผู้ป่วย ไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด รัชนีกร ไข่หิน พยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลอาจสามารถ

  2. สถานการณ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา: ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 : ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 437,000 ราย (US Renal Data system, 2010) ประเทศเคนยา : ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 35,100 ราย : ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องร้อยละ 0.3 (Naicker,S., 2009) ประเทศไทย : ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 19,000ราย : ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 48.8 (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2556) จังหวัดร้อยเอ็ด: ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 1,788ราย : ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องร้อยละ 33.4 (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด, 2555)

  3. สถานการณ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2554 • ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 132 ราย • ผู้ป่วยได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง 12 ราย HD 3 ราย • ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และมีโรคประจำตัว • ผู้ป่วยติดเชื้อ 5 ราย เสียชีวิต 1 ราย

  4. สถานการณ์ ปี พ.ศ. 2555 • ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 139ราย • ผู้ป่วยได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง 25ราย HD 4 ราย • ผู้ป่วยติดเชื้อ 8 ราย และเสียชีวิต 2 ราย (โรงพยาบาลอาจสามารถ, 2555) **การล้างไตมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อจากการสอดใส่ท่ออุปกรณ์ (สมชาย เอี่ยมอ่อง และคณะ, 2551)

  5. ผลกระทบ ผู้ป่วย • ทำให้ต้องรับการรักษาและนอนโรงพยาบาลนานขึ้น • ไม่ได้อยู่กับครอบครัว อาจส่งผลให้มีปัญหาสุขภาพจิต • เสียชีวิต • สูญเสียค่าใช้จ่าย โรงพยาบาล • สูญเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อยาปฏิชีวนะเพื่อใช้ในการรักษา (Hool, Onnium, Goh, Wong, Tan, Ahmad & Morad, 2005; Trodle, Brenna, Kliger, & Finkeistein, 2003; US Renal Data system, 2007)

  6. กิจกรรมการส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์กิจกรรมการส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ • ใช้หลายวิธีประกอบกันโดยเน้น แนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม (self care)

  7. การดูแล ตนเอง R R R ปัจจัยเงื่อนไขพื้นฐาน ความต้องการ ดูแลตนเองทั้งหมด ความสามารถ ในการดูแลตนเอง ปัจจัยเงื่อนไขพื้นฐาน < แบบจำลองแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ของโอเร็ม ความบกพร่อง R R ความสามารถ ทางการพยาบาล ปัจจัยเงื่อนไข พื้นฐาน R = ความสัมพันธ์

  8. กิจกรรมส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์กิจกรรมส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 4.ให้การพยาบาลโดยประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง 1. การให้ความรู้ แนวคิดการดูแลตนเอง 2.กระตุ้นให้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ 3.ให้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วม

  9. แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจ • ทำให้บุคคลเกิดการรับรู้พลังอำนาจในตนเอง • มีความเข้าใจและยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นภายในบริบทของตัวบุคคล ครอบครัว หรือชุมชน • ช่วยเหลือและสนับสนุนให้บุคคลรู้จักความต้องการของตนเอง • สามารถแก้ปัญหา • รู้จักใช้แหล่งประโยชน์ที่จำเป็น • ช่วยให้บุคคลสามารถควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของตนเองได้ (Gibson, 1991)

  10. สรุปการทบทวนวรรณกรรม • นำมาใช้ในการดูแล ผู้ป่วยข้ออักเสบรูมาตอยด์ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว (กษิตา พานทอง, 2552; บุษกร อ่อนโนน, 2547; พนารัตน์ เจนจบ, 2542; เมธินีจันติยะ, 2547; ศรีรัตน์ ตุ้มสิน, 2546) ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้

  11. กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การค้นพบสภาพการณ์จริง ขั้นตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ขั้นตอนที่ 3 การตัดสินใจลงมือปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ (Gibson, 1993) ป้องกันการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้อง อย่างต่อเนื่อง

  12. วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อศึกษาผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจในการป้องกันการติดเชื้อในผู้ป่วยผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง • เพื่อเปรียบเทียบการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องระหว่างก่อนและหลังได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจ

  13. สมมติฐานการวิจัย • การติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง หลังได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจน้อยกว่าก่อนได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจ

  14. กรอบแนวคิดในการวิจัย

  15. ขอบเขตการวิจัย • การวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) • แบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลังการทดลอง (One group Pretest – Posttest design) • เพื่อศึกษาผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการป้องกันการ ติดเชื้อในผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด • โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด • ระยะเวลาการศึกษา 6เดือน ระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม 2556

  16. วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรที่ศึกษา • ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ที่อาศัยอยู่ในอำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ทุกคน จำนวน 25 ราย

  17. เกณฑ์ในการคัดเลือกเข้าร่วมในการวิจัยเกณฑ์ในการคัดเลือกเข้าร่วมในการวิจัย • เป็นผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการอื่นที่ส่งเสริมการปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้อง • เป็นผู้ที่สามารถสื่อสารได้โดยใช้ภาษาไทย • ยินดีเข้าร่วมการวิจัย

  18. เกณฑ์ในการคัดออกจากการวิจัย • ในระหว่างดำเนินกิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุใดก็ตาม

  19. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล • เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการทดลอง

  20. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 2 ชุด ได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ ข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา โรคประจำตัว ระยะเวลาในการป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะเวลาที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย การได้รับการอบรมเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องด้วยตัวเอง การมีห้องที่ใช้สำหรับล้างไตโดยเฉพาะ การทำความสะอาดห้องหรือบริเวณที่ล้างไต การสวมผ้าปิดปากและจมูกเมื่อทำการล้างไต การล้างมือครบตามจำนวนครั้งที่กำหนดในการล้างไต การเก็บน้ำยาสำหรับล้างไตแยกออกจากห้องที่ทำการล้างไต การดื่มน้ำต้ม/น้ำกรอง การอาบน้ำที่ผ่านจากก๊อกเปิดใหม่ การเคยติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง และการมีปัญหาในการล้างไตทางช่องท้อง 2. แบบบันทึกการเฝ้าระวังการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง

  21. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการทดลอง ได้แก่ แผนการเสริมสร้างพลังอำนาจแบบรายกรณี ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การค้นพบสภาพการณ์จริง : สร้างสัมพันธภาพ : ค้นหาปัญหา : ให้ความรู้ ขั้นตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ : ทบทวนความรู้ : เล่ากรณีตัวอย่าง : ผู้ป่วยบอกสิ่งที่ควรปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 การตัดสินใจลงมือปฏิบัติ : ลงมือปฏิบัติและกำหนดเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ : PDCA : พันธะสัญญาใจ

  22. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) • แผนการเสริมสร้างพลังอำนาจแบบรายกรณี : ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน การหาความเชื่อมั่น (reliability) • แผนการเสริมสร้างพลังอำนาจแบบรายกรณี : นำไปทดลองใช้กับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องจำนวน 5คน เพื่อทดสอบความ เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ เป็นการประเมินความเข้าใจขั้นตอนต่างๆ และ กิจกรรมก่อนนำไปใช้จริง

  23. การพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่างการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง • การวิจัยดำเนินการภายหลังได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย โรงพยาบาล • ชี้แจงวัตถุประสงค์และขั้นตอนของการศึกษา • ขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและทำการทดลอง • ผู้ร่วมวิจัยยินยอมเข้าร่วมการวิจัยจึงให้ลงลายมือชื่อในเอกสารแสดงความยินยอมเข้าร่วมในโครงการวิจัย • การศึกษาครั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสมัครใจ สามารถออกจากการศึกษาได้ทุกเวลา • การปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัยไม่มีผลต่อบริการที่ได้รับ • ข้อมูลที่ได้จะนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการ

  24. ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นตอนการดำเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นเตรียมการรวบรวมข้อมูล • คัดเลือกผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ • นัดหมายวันเวลาในการดำเนินกิจกรรม • ผู้วิจัยแนะนำตัวเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของโครงการ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ หลังจากนั้นให้ผู้ป่วยลงลายมือชื่อกรณียินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย

  25. ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นตอนการดำเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นดำเนินการรวบรวมข้อมูล • ผู้วิจัยพบผู้ป่วย แนะนำตัว และให้ผู้ป่วยตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ผู้วิจัยเก็บข้อมูลประวัติการติดเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ ประเมินการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องโดยใช้แบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ • ดำเนินการเสริมสร้างพลังอำนาจ

  26. กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจครั้งที่ 1 ขั้นตอนที่ 1-3 (สัปดาห์ที่ 1) ขั้นตอนที่ 1 การค้นพบสภาพการณ์จริง สร้างสัมพันธภาพ

  27. กิจกรรมค้นหาปัญหา

  28. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ แผ่นพับ

  29. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ การใช้ภาพพลิก

  30. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ ใช้โปสเตอร์ความรู้และส่งเสริมความรู้

  31. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ

  32. กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจครั้งที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทบทวนความรู้ เล่ากรณีตัวอย่าง ให้ผู้ป่วยบอกสิ่งที่ควรปฏิบัติ

  33. กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจครั้งที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 การตัดสินใจลงมือปฏิบัติ - ตัดสินใจแก้ปัญหา+เลือกวิธีปฏิบัติ+กำหนดเป้าหมาย - สนับสนุนผ้าปิดปาก-จมูก และแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ - ให้คำปรึกษารายบุคคลทางโทรศัพท์ - ให้ข้อมูลเสริมแรงเชิงบวก คำชม - โทรศัพท์ติดตามการปฏิบัติสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  34. กระตุ้นการปฏิบัติผู้ป่วย/ผู้ดูแลกระตุ้นการปฏิบัติผู้ป่วย/ผู้ดูแล การทำความสะอาดมือ **โทรศัพท์ติดตามกระตุ้นการปฏิบัติสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  35. สนับสนุนแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือและผ้าปิดปาก-จมูกสนับสนุนแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือและผ้าปิดปาก-จมูก

  36. การจัดสิ่งแวดล้อม ห้องน้ำ สถานที่เก็บน้ำยา

  37. การจัดสิ่งแวดล้อม การจัดเก็บผ้าเช็ดมือ

  38. การจัดสิ่งแวดล้อม โต๊ะและอุปกรณ์ การจัดเก็บขยะ

  39. ปัญหาการจัดการขยะ

  40. กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจครั้งที่ 2 ขั้นตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ (สัปดาห์ที่ 5) สรุปการปฏิบัติของผู้ป่วย รายที่มีปัญหาในการปฏิบัติทำ PDCA

  41. กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจครั้งที่ 3 ขั้นตอนยุติการเสริมสร้างพลังอำนาจ (สัปดาห์ที่ 9) ทบทวนสิ่งที่ควรปฏิบัติ เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย ความประทับใจและประโยชน์ที่ได้รับ

  42. ประเมินผลหลังการเสริมสร้างพลังอำนาจ สัปดาห์ที่ 12 • เก็บรวบรวมข้อมูลการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องโดยใช้แบบบันทึกการเฝ้าระวังการติดเชื้อ

  43. การวิเคราะห์ข้อมูล • ข้อมูลทั่วไป: แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • ข้อมูลการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้อง ก่อนและหลังการทดลอง - Fisher Exact test

  44. ผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ส่วนที่ 2 เปรียบเทียบการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง

  45. ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลส่วนบุคคล (N=25)

  46. ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลส่วนบุคคล (N=25)(ต่อ)

  47. ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลส่วนบุคคล (N=25)(ต่อ)

  48. ตารางที่ 2จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (N=25)

  49. ตารางที่ 2จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (N=25) (ต่อ)

  50. ตารางที่ 2จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (N=25)(ต่อ)

More Related