1 / 35

สรุปผลการดำเนินงานการสอบสวนควบคุม โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 อำเภอบางละมุง

สรุปผลการดำเนินงานการสอบสวนควบคุม โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 อำเภอบางละมุง. สถานการณ์การเฝ้าระวัง โรคไข้หวัดใหญ่. จังหวัดชลบุรี. งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.ชลบุรี http ://www.cbo.moph.go.th.

camden-hart
Télécharger la présentation

สรุปผลการดำเนินงานการสอบสวนควบคุม โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 อำเภอบางละมุง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการดำเนินงานการสอบสวนควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 อำเภอบางละมุง

  2. สถานการณ์การเฝ้าระวัง สถานการณ์การเฝ้าระวัง โรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดชลบุรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.ชลบุรี http ://www.cbo.moph.go.th

  3. แผนภูมิแสดง Daily Report ผู้ป่วยนอก อำเภอบางละมุงวันที่ 23 พ.ค. 52 – 10 มิ.ย. 2552(J02.9 J69 J00)

  4. แผนภูมิแสดง Daily Report ผู้ป่วยนอก อำเภอบางละมุงวันที่ 23 พ.ค. 52 – 10 มิ.ย. 2552

  5. แผนภูมิแสดง Daily Report ผู้ป่วยนอก แยกตามรหัสโรคอำเภอบางละมุงวันที่ 23 พ.ค. 52 – 10 มิ.ย. 2552

  6. แผนภูมิแสดง Daily Report ผู้ป่วยนอก อำเภอบางละมุงวันที่ 23 พ.ค. 52 – 10 มิ.ย. 2552

  7. การเตรียมการ ประชุม war room ที่โรงพยาบาลบางละมุง วันที่ 9 มิถุนายน 2552 โดยท่านอธิบดีกรมควบคุมโรคเป็นประธาน - กรมควบคุมโรค - สำนักระบาดวิทยา - สคร 3 - สสจชลบุรี - เมืองพัทยา - SRRT อ.บางละมุง อ.สัตหีบ อ.ศรีราชา

  8. มาตรการการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคมาตรการการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค 1.การค้นหาผู้สัมผัสใกล้ชิด และการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม - โรงแรม แห่งหนึ่งในเมืองพัทยา - ผับ แห่งหนึ่งในเมืองพัทยา 2.การเฝ้าระวังในชุมชน ค้นหาผู้ป่วย ผู้สัมผัสใกล้ชิด 3.การค้นหาผู้ป่วยผู้ป่วย ในโรงพยาบาล ภาครัฐ เอกชน คลินิก

  9. การดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรค แบ่งทีมออกปฏิบัติงานเป็น 3 ทีม - ทีมที่ 1 SRRT สำนักระบาดวิทยา และ SRRT สัตหีบ ดำเนินการที่โรงแรม - ทีมที่ 2SRRT สคร 3 กับ SRRT สัตหีบ ดำเนินการที่ผับ -ทีมที่ 3 SRRT ชลบุรี SRRT บางละมุง SRRT ศรีราชา ดำเนินการที่โรงพยาบาลบางละมุง โรงพยาบาลเอกชน และคลินิกในพื้นที่อำเภอบางละมุง

  10. การดำเนินงานวันที่ 10 มิถุนายน 2552 • ประชุม war room ร่วมกับนายอำเภอ รองนายกเทศบาลเมือง เพื่อชี้แจงแนวทางดำเนินงานในพื้นที่ และแนวทางการให้ข่าวกับสื่อมวลชน • ต้อนคณะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรับนโยบายสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนในพื้นที่ • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สนับสนุนรถmobile เคลื่อนที่ในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  11. การดำเนินงานวันที่ 11 มิถุนายน 2552 • ประชุม war room • แบ่งทีม การปฏิบัติงานของ SRRT จำนวน 32 ทีม • แจกแบบสอบถามเพื่อติดตามพนักที่ป่วยและผู้สัมผัสใกล้ชิดในสถานบันเทิง • ให้การรักษาผู้ป่วยและผู้สัมผัสใกล้ชิด มีอาการเข้าข่ายทุกราย • ประชุมคณะครูอาจารย์ โรงเรียนในเขต เมืองพัทยา เพื่อร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรค • สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความรุนแรงของโรค เพื่อป้องกันการตื่นตระหนก • ดำเนินการเชิงรุก เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ • ให้สุขศึกษา เน้นย้ำ กินของร้อน ใช้ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ เมื่อเป็นหวัดใช้หน้ากากอนามัย • เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุปผล เพื่อปรับเปลี่ยนมาตรการดำเนินงาน • ประชุม war room สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินงานในวันที่ 12 มิถุนายน 2552 โดยจะดำเนินงานในโรงเรียน เขตเมืองพัทยา 37 แห่ง

  12. สรุปผลการดำเนินงานในสถานบันเทิงสรุปผลการดำเนินงานในสถานบันเทิง

  13. ข้อมูลทั่วไป • พนักงานทั้งหมด 134 คน ตรวจคัดกรอง 115 ราย • พบผู้มีอาการ 68 ราย • เก็บตัวอย่างส่งตรวจ 67 ราย • พบเชื้อ 17 ราย

  14. ข้อมูลทั่วไป(ต่อ) ลักษณะงานแบ่งเป็น 8 แผนก ได้แก่ คนขับรถ แม่ครัว ช่าง บริการลูกค้า ดนตรี บัญชี บาร์เครื่องดื่ม และพนักงานต้อนรับ ช่วงเวลาทำงานของพนักงาน 19.00 - 02.00 น. เป็นดิสโก้ เธค รับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ชาวฮ่องกง เกาหลี ไต้หวัน

  15. แผนภูมิแสดง จำนวนพนักงานที่ป่วยจำแนกตามกลุ่มอายุ

  16. แผนภูมิแสดง จำนวนพนักงานที่ป่วยจำแนกตามวันเริ่มป่วย

  17. แผนภูมิแสดง จำนวนพนักงานที่ป่วยจำแนกตามแผนกงาน

  18. แผนภูมิแสดง จำนวนพนักงานที่ป่วยจำแนกตามอาการที่ป่วย

  19. แผนภูมิแสดง จำนวนพนักงานที่ป่วยจำแนกตามตำบล

  20. สรุปผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการสรุปผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • เก็บตัวอย่าง จากการทำ Throat swab จำนวน 67 ตัวอย่าง • ตรวจยืนยันพบเชื้อ 17 ตัวอย่าง การรักษา จ่ายยาทามิฟลู พนักงานป่วยและ 67 คน ผู้สัมผัส (ผับเดียวกันป่วยใหม่) จ่ายยาผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย 20 ราย

  21. ผลการดำเนินงาน(ต่อ) • ให้ครูอนามัยฯเก็บแบบสำรวจทุกวันและส่งกองสาธารณสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม(คุณแป๋ว คุณทิพย์)โดยดำเนินการจนถึง 30 มิ.ย.52

  22. การดำเนินงานวันที่ 12 มิถุนายน 2552 • ประชุม (เช้า) น.พ.สสจ.ชลบุรี.เป็นประธาน • ประเด็น “การดำเนินงานฯในโรงเรียน” • กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนในเมืองพัทยาทั้งหมด • แนวทาง • แบ่งทีม SRRT มอบหมายงาน • แจกแบบสำรวจ • ประสานครู อนามัยโรงเรียนให้สำรวจนักเรียนที่ป่วยตามนิยาม หากพบ นร.ป่วย ให้หยุดเรียน • สำรวจ สวล.ทั่วไปในโรงเรียน • ให้สุขศึกษาแก่ ครู นักเรียน • ดำเนินการ Big Cleanning Day ผลการดำเนินงาน พบ นร.ป่วย 284 ราย ส่วนใหญ่เป็น นร.อนุบาล จาก 5 โรงเรียน

  23. การดำเนินงานวันที่ 12 มิถุนายน 2552 • ประชุม (บ่าย) ผวจ.เป็นประธาน • ประเด็น “การดำเนินงานฯในสถานประกอบการ” • กลุ่มเป้าหมาย สถานประกอบการในเมืองพัทยา • แนวทาง ผวจ. • การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และให้ทุกภาคส่วนให้มีความกระตือรือร้นในการทำงานให้มากขึ้นเพื่อควบคุมสถานการณ์ไม่ให้แพร่ระบาด และได้ประชุมผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่งลดความตื่นตระหนก โดยให้ทราบถึงความรุนแรงของโรค อัตราป่วยตายต่ำ เน้นให้รักษาสุขภาพให้ร่างกายแข็งแรงแบ่งทีม นพ.สสจ. การดำเนินงานการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคที่ผ่านมาตั้งแต่ 9-11 มิ.ย52 ผู้ป่วยและผุ้ที่มีรายงานเข้าข่ายตามนิยาม และผู้สัมผัสร่วมบ้านทั้งหมดได้รับการรักษาและการติดตามเฝ้าสังเกตอาการรวมทั้งค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน โดยมีทีม SRRT 6 อำเภอ

  24. นายกเมืองพัทยา • มีการUPDATE ข่าวให้สถานประกอบการทราบทุกวัน • และเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวเมืองพัทยา ได้ดำเนินการได้ตามมาตรฐานสากล • ให้ร้านอาหารทุกร้านเวลาเสริฟอาหารต้องมีช้อนกลาง • ให้ดำเนินการ Big cleanning day

  25. การดำเนินงานวันที่ 13 มิถุนายน 2552 • ประชุม war room • ประกาศพื้นที่อ.บางละมุง สถานการณ์โรคอยู่ในระดับ C การทำthroat Swab จะทำในผป.ที่ admitเท่านั้น • ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานในโรงเรียน พบอ่างล้างมือยังมีน้อย และยังมีการตื่นตระหนกอยู่บ้าง ในกลุ่มครู เน้นย้ำความเข้าใจที่ถูกต้องในการรับฟังข่าว • Mobile lab ของกรมวิทยาศาสตร์ได้เดินทางกลับ • มอบทีม สคร. 2, 3, 5 ติดตามสอบสวนโรค ผู้ป่วยที่มีผลตรวจยืนยันเชื้อไวรัสฯ Positive (7 ราย) • มอบงานสุขศึกษาประชาสัมพันธ์สสจ.ชลบุรี ให้update ข่าว และนำเสนอ • การให้ข่าวเรื่องยอดผป.หรือสถานการณ์โรค ควรเป็นนพ.สสจ.สสจ.

  26. การดำเนินงานฯ(ต่อ) • วันที่จันทร์ ที่15 มิ.ย.52 เวลา 14.00น เมืองพัทยาจะดำเนินการ Bigcleaning day บริเวณ Walking street • ปัญหา ระบบการ Flow ข้อมูลของผล lab ช้า มีผลต่อการวางแผนการทำงานการเฝ้าระวังและควบคุมโรคฯในwar room สคร 3 รับประสานข้อมูล

  27. ผลการดำเนินงานในโรงเรียน(เบื้องต้น)ผลการดำเนินงานในโรงเรียน(เบื้องต้น) • โรงเรียน จำนวน 35 แห่ง • นักเรียน ป่วยทั้งหมด 637 ราย • ส่วนใหญ่ เป็นเด็กอายุ 5-9 ปี • รองลงมา เป็นเด็กโต ตั้งแต่อายุ10 ปีขึ้นไป การดำเนินการต่อ เมืองพัทยา จะรวบรวมรายละเอียดข้อมูลตั้งแต่วันจันทร์ที่ 15- 30 มิ.ย.52 วิเคราะห์เบื้องต้นและประสานกับร.พ.บางละมุงถ้าพบนักเรียนป่วยที่เป็นcluster ในชั้นเรียนเดียวกัน

  28. การดำเนินการสอบสวนโรคผป.ที่มีผลตรวจยืนยันเพิ่ม(3+4)การดำเนินการสอบสวนโรคผป.ที่มีผลตรวจยืนยันเพิ่ม(3+4) พบผป.7 ราย เพศชาย3ราย เพศหญิง 4 ราย ชาวต่างชาติ ใต้หวัน 2 ราย ดำเนินการ ให้สุขศึกษา จ่ายยา สอบถามผู้สัมผัส ใกล้ชิด

  29. การดำเนินงานวันที่ 14 มิถุนายน 2552 • ประชุม war room • ประเด็น “ ผลการสอบสวนโรค ผ.ป.ที่ติดเชื้อ ฯ” “แนวทางการให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ในเขตเมืองพัทยา” “การติดตั้งthermoscan ที่ walking street” ปชส.ฯ การนำเสนอข่าวเป็นเชิงบวกมากขึ้น มีการปชส.การป้องกันโรค สถานประกอบการ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ห้างสรรพสินค้า เสียง ปชส.สื่อ2 ภาษา (ไทย อังกฤษ) ทุกชม. เอกสาร แผ่นพับ แจกที่เคาน์เตอร์ สถานีวิทยุ 5 สถานี มีเสียง spot ออกกระจายเสียง ปชส.

  30. ผลการสอบสวนโรคฯ • ผป.ทั้งหมด 7 ราย • ผ.ป. 3 ราย พบว่ามีความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่ผับแห่งแรก ทุกคนอาการดีขึ้นอาการปกติ และจ่ายยาทามิฟลู • ผ.ป.2 ราย (ผ.ป.ใน 1 ราย ) ทำงานที่ผับ อีก 2 แห่ง ผป.ยังมีไข้ ไอ เจ็บ คอ และจ่ายยาทามิฟลู • ผป. 2 ราย พักอาศัยกับชาวต่างชาติ ทุกคนอาการดีขึ้น และจ่ายยาทามิฟลู

  31. แนวทางการดำเนินงานฯ • ประสานผจก.ผับ อีก 2 แห่ง ให้ความรู้ และคัดกรองพนักงานที่ป่วย และเข้าไปดูว่า มีใครบ้างที่มีอาการป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย ให้สุขศึกษาที่ชัดเจน ถ้าใครป่วยให้ใช้mask • ถ้าเป็นผ.ป.ที่admit และผ.ป.URI ให้ใช้ mask • การทำ Throat swab • ผ.ป.ในเขตอ.บางละมุง ให้ทำเฉพาะผ.ป.admit ICU เท่านั้น • ทำหนังสือแจ้งเวียนให้ร.พ.เอกชนรับทราบ • ผ.ป.อำเภอ อื่นๆ ก่อนส่ง Throat swab ให้ประสาน SRRT สสจ.ชลบุรีก่อนเพื่อพิจารณาเป็นรายๆไป

  32. แนวทางการปชส. • -ทำแผ่นป้ายเพื่อติดปชส.(ขนาด A3) 2 แบบ • แบบที่1 “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ไม่น่ากลัวอย่างที่คิดแค่...ไข้หวัดธรรมดา รักษาตามอาการไม่จำเป็นต้องใช้ยาชนิดพิเศษ หายเองได้ ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยสามารถหายเองได้โดยไม่ต้องรับประทานยาป้องกันเพียงแค่หมั่นปฏิบัติตน ดังนี้ กินของร้อน ใช้ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ ใช้หน้ากากอนามัยเมื่อเป็นไข้หวัด”

  33. แบบที่2 • “เมื่อเป็นหวัด อย่าตกใจ เป็นไข้หวัด2009 ...รักษาง่าย ไม่ต้องใช้ยาพิเศษ มีอันตรายเฉพาะกลุ่ม หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ที่มีภูมิต้านทานของร่างกายต่ำ ต้อง...รับผิดชอบต่อสังคม โดยการใช้หน้า กากอนามัย หยุดเรียนหยุดงาน หลีกเลี่ยงที่ชุมชน” สื่อด้วยภาพการ์ตูน ที่มีประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายมีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

  34. แนวทางปชส.(ต่อ) • สสจ.สนับสนุนแผ่นป้าย 10,000 แผ่น(แบบละ 5,000 แผ่น) • กลุ่มเป้าหมาย รถตู้ของทางราชการ รถสองแถว ห้างสรรพสินค้า ธนาคาร สถานประกอบการ • มอบเทศบาลเมืองพัทยา ดำเนินการให้แล้วเสร็ก่อน เวลา 14.00น • นัดพร้อมกันBig cleanning day ที่walking street เวลา 14.00น ผวจ.เป็นประธาน

  35. การติดตั้งthermo ที่ walking street • เพื่อ สร้างภาพลักษณ์ ความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยว • ข้อเสนอแนะ • เป็นเครื่องตรวจจับคัดกรองผู้ที่เดินทางจากต่างประเทศที่เข้ามาเมืองไทย เพื่อดูว่ามีไข้หรือไม่ และต้องตรวจต่อด้วย ear thermomiter • ต้องมีเจ้าหน้าประจำตลอด ถ้าพบมีไข้องให้กรอกประวัติเพิ่ม • เครื่องฯsensitive เร็ว จะมีเสียงalarm ถ้ามีอุปกรณ์ติดตัว

More Related