1 / 31

การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน

การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน. เอกสารอ้างอิง. Thailand’s Experience in Oil Price Deregulation , Dr. Piyasvasti Amranand, October 2002 การกำหนดราคาน้ำมันเชื้อเพลิงของไทย , สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ 11 มิถุนายน 2544 ใน http://www.eppo.go.th/petro/ThaiOilPrices.html. เอกสารอ้างอิง.

Télécharger la présentation

การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน

  2. เอกสารอ้างอิง • Thailand’s Experience in Oil Price Deregulation, Dr. Piyasvasti Amranand, October 2002 • การกำหนดราคาน้ำมันเชื้อเพลิงของไทย, สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ 11 มิถุนายน 2544 ใน http://www.eppo.go.th/petro/ThaiOilPrices.html

  3. เอกสารอ้างอิง • “Energy Pricing”ใน ยุทธศาสตร์พลังงานของประเทศไทย: ทางเลือกการจัดหาพลังงาน (Fuel Options)เมษายน 2549 หน้า 179-194 • Coping with Higher Oil Prices, Robert Bacon and Masami Kojima, Energy Sector Management Assistance Programme, World Bank, June 2006 3

  4. เค้าโครงการบรรยาย ขั้นตอนการแปรรูปน้ำมันดิบและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมัน องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันของไทย การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันของไทย 4

  5. เค้าโครงการบรรยาย นโยบายราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันในประเทศกำลังพัฒนาในช่วงราคาน้ำมันโลกแพง หลักเกณฑ์การกำหนดภาษีผลิตภัณฑ์น้ำมัน 5

  6. ขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมัน • กรณีของไทย คล้ายกันกับประเทศนำเข้าน้ำมันอื่นๆ • นำเข้า “น้ำมันดิบ” มากลั่นในประเทศเป็น “ผลิตภัณฑ์น้ำมัน” (เบนซิน ดีเซล เครื่องบิน ก๊าด เตา และ LPG) • ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG หรือก๊าซหุงต้ม) ผลิตได้จากทั้งโรงกลั่นน้ำมัน (คือจากน้ำมันดิบ) และโรงแยกก๊าซ (คือจากก๊าซธรรมชาติ)

  7. ขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมัน • มีการนำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์น้ำมันด้วย • มีทั้งขายส่งให้ผู้ใช้น้ำมันรายใหญ่ และขายปลีกให้ผู้ใช้น้ำมันรายย่อย (ส่วนใหญ่ผ่านปั๊ม)

  8. ต่างประเทศ (ส่วนใหญ่ จากตะวันออกกลาง) สิงคโปร์และอื่นๆ นำเข้าน้ำมันดิบ โรงกลั่นน้ำมันในประเทศ เช่น ไทยออยล์ บางจาก นำเข้า / ส่งออก ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เบนซิน ดีเซล ขายส่ง ผู้ค้าน้ำมัน เช่น ปตท. เชลล์ สถานีบริการน้ำมัน ผู้ใช้น้ำมันรายใหญ่ ขายปลีก ขั้นตอนการแปรรูปและจำหน่ายน้ำมัน ผู้ใช้น้ำมันรายย่อย

  9. โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทยโรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทย

  10. ESSO (145 kbpd) TOP (275 kbpd) (PTT 49.54%) RPC (17 kbpd) BCP (120 kbpd) (PTT 29.75%) IRPC (215 kbpd) (PTT 31.50%) SPRC (150 kbpd) (PTT 36.00%) PTTAR (215 kbpd) (PTT 48.66%) โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทย ปตท. ถือหุ้นใน 5 แห่ง คิดเป็น 35% ของกำลังการกลั่นรวม กำลังการกลั่นรวม ~ 1,137 kbpd • PTT accounts for 35% by equity portion • TOP/SPRC/PTTAR – complex refineries with potential expansion • BCP is undertaking “Product Quality Improvement” project to enhance product mix Note : Data as of 31 Dec 2007

  11. กำลังการผลิตแยกตามสัดส่วนของผลิตภัณฑ์กำลังการผลิตแยกตามสัดส่วนของผลิตภัณฑ์

  12. สัดส่วนการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปของโรงกลั่นสัดส่วนการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปของโรงกลั่น 5% LPG (ก๊าซหุงต้ม) 22% ULG (เบนซิน) Kerosene (น้ำมันอากาศยาน) 11% CDU 38% Gasoil (ดีเซล) Crude Oil (น้ำมันดิบ) Fuel Oil (น้ำมันเตา) 21% Fuel/ Loss (เชื้อเพลิง/ สูญเสีย) 3% ที่มา : สภาอุตสาหกรรม

  13. ความต้องการใช้เทียบกับการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปความต้องการใช้เทียบกับการผลิตน้ำมันสำเร็จรูป KBD IRPC Upgrade PTTAR Expansion Thailand Refining Capacity TOP (CDU 3 Debot) 997 960 922 887 848 851 796 Alternative Fuels 769 730 738 724 736 732 JET/IK LPG Demand Growth2013-2016 = 4% FO Demand Growth2008-2012 = 4% Gasoline Demand Growth2004-2007 = 0% Diesel แผนการขยายกำลังการผลิตในอนาคต สามารถรองรับความต้องการใช้น้ำมันได้นานกว่าปี 2016

  14. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันของไทยองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันของไทย • ราคา ณ โรงกลั่นไทย (ex-refinery price) อิงราคา ณ โรงกลั่นที่สิงคโปร์ (ศูนย์กลางการค้าน้ำมัน ในภูมิภาค)

  15. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันของไทยองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันของไทย • ถ้ากำหนดตามต้นทุน ราคา ณ โรงกลั่น (ex-refinery price) = ต้นทุนน้ำมันดิบ + ค่าการกลั่น (gross refining margin)

  16. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • สมมุติไม่มีการแทรกแซงโดยรัฐบาล ราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน (retail price) = ราคา ณ โรงกลั่น + ค่าขนส่ง + ค่าการตลาด (marketing margin ทั้งของบริษัท น้ำมันและสถานีบริการหรือปั๊มน้ำมัน)

  17. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • การแทรกแซงโดยรัฐบาล เก็บ “ภาษี” และ “เงินกองทุน” • ภาษี 3 ประเภท: • ภาษีสรรพสามิต (กลั่นในประเทศ) หรือ ภาษีขาเข้า (นำเข้า) เป็นอัตราคงที่ บาทต่อลิตร • ภาษีเทศบาล อัตรา 10% ของ 1.

  18. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ภาษี 3 ประเภท: • ภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตรา 7% ของมูลค่าซื้อขาย

  19. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • เงินกองทุน 2 ประเภท: • “กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง” เพื่อ • ลดความผันผวนของราคาขายปลีก โดยเก็บเข้ากองทุนเมื่อราคาโลกต่ำ และชดเชยเมื่อราคาโลกสูง • อุดหนุนข้ามผลิตภัณฑ์ เก็บจากเบนซิน ไปชดเชยผู้ใช้ดีเซล (บางเวลา) แก๊สโซฮอล ก๊าซหุงต้ม และ NGV

  20. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • เงินกองทุน 2 ประเภท: • “กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน” เพื่อส่งเสริมการประหยัดพลังงาน และพลังงานทดแทน

  21. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • องค์ประกอบของราคาขายปลีก: ราคา ณ โรงกลั่น + ภาษีต่างๆ + เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง + เงินกองทุนอนุรักษ์พลังงาน + ค่าการตลาด

  22. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551(simplified) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : บาทต่อลิตร

  23. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 (simplified) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : ร้อยละ

  24. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 (detailed1) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : บาทต่อลิตร

  25. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 (detailed2) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : บาทต่อลิตร

  26. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2554(simplified) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท)

  27. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2554(simplified) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท)

  28. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2554(detailed1) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท)

  29. โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2554(detailed2) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท)

  30. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ข้อสังเกต: • ในช่วงที่ราคาโลกสูงมาก รัฐบาลจ่ายเงินกองทุนชดเชยช่วยผู้ใช้ดีเซล (ใช้ขนส่งสินค้า และผู้โดยสาร) • เก็บจากผู้ใช้เบนซินเข้ากองทุน (ฐานะดี มีรถเก๋ง) • ส่งเสริมแก๊สโซฮอล โดยเก็บเข้ากองทุนน้อยและยกเว้นภาษี (เฉพาะส่วนที่เป็น ethanol)

  31. องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ข้อสังเกต: • เงินกองทุนชดเชยก๊าซหุงต้มที่นำเข้าตั้งแต่ พ.ค. 2551 (ไม่ปรากฏในตาราง) • ราคานำเข้าสูงกว่าราคาหน้าโรงกลั่น • ราคานำเข้า 15 - 30 บาทต่อ กก. • ราคา ณ โรงกลั่นเพียง 11 บาทต่อ กก. • ราคาขายปลีกไม่ถึง 20 บาทต่อ กก.

More Related