1 / 47

5. การประเมินผลโครงการความปลอดภัย

ทำไม !! ต้องประเมินผลโครงการความปลอดภัย. 5. การประเมินผลโครงการความปลอดภัย. การประเมินผลของอุบัติเหตุ. ในการทำงานด้านความปลอดภัย จำเป็นที่จะต้องมีการประเมินผลของอุบัติเหตุ เพื่อให้ฝ่ายบริหารมองเห็นภาพได้ชัดเจนและตัดสินใจให้มีการปฏิบัติได้ง่ายขึ้น ประเมินในเชิงมูลค่าของเงิน ประเมินในเชิงสถิติ

Télécharger la présentation

5. การประเมินผลโครงการความปลอดภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทำไม!! ต้องประเมินผลโครงการความปลอดภัย 5.การประเมินผลโครงการความปลอดภัย

  2. การประเมินผลของอุบัติเหตุการประเมินผลของอุบัติเหตุ • ในการทำงานด้านความปลอดภัย จำเป็นที่จะต้องมีการประเมินผลของอุบัติเหตุ เพื่อให้ฝ่ายบริหารมองเห็นภาพได้ชัดเจนและตัดสินใจให้มีการปฏิบัติได้ง่ายขึ้น • ประเมินในเชิงมูลค่าของเงิน • ประเมินในเชิงสถิติ • การประเมินความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุ จำเป็นต้องประเมินเป็นมูลค่าของเงิน เพื่อแสดงถึงค่าใช้จ่ายที่จะประหยัดได้จากโครงการด้านความปลอดภัย และสามารถเปรียบเทียบกับเงินที่ต้องใช้ไปในการดำเนินโครงการได้ ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพและผลกำไร

  3. การประเมินผลของอุบัติเหตุการประเมินผลของอุบัติเหตุ • ในการคำนวณค่าใช้จ่าย จะแยกอุบัติเหตุเป็น 2 ประเภท • เหตุการณ์ที่เกิดแล้วทำให้มีผู้บาดเจ็บ • เหตุการณ์ที่ทำให้ทรัพย์สินเสียหายเท่านั้น • ค่าใช้จ่ายโดยตรง • ค่าขนย้ายผู้บาดเจ็บ • ค่ารักษาพยาบาล • ค่าซ่อมแซมเครื่องจักร • ค่าใช้จ่ายโดยอ้อม • ค่าแรงที่ต้องจ่ายให้ผู้บาดเจ็บขณะพักงาน • ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากผลิตไม่ทัน • ค่าแรงคนงานที่หยุดงานมามุงดู

  4. การประเมินผลของอุบัติเหตุการประเมินผลของอุบัติเหตุ • ตัวอย่างรายการค่าใช้จ่ายที่ควรประเมิน • ตัวอย่างแบบฟอร์มประเมินค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ • ค่าจ้างที่ต้องจ่ายให้พนักงานที่บาดเจ็บแม้ไม่ได้ทำงาน • ค่ารักษาพยาบาล • ค่าซ่อมแซมเครื่องจักรที่เสียหาย • ค่าจ้างที่ต้องจ่ายให้พนักงานที่ไม่ได้รับบาดเจ็บแต่ไม่ได้ทำงาน • ค่าล่วงเวลาเพื่อทำงานให้ครบ ชดเชยกับการที่เกิดอุบัติเหตุ • ค่าจ้างพนักงานผู้บาดเจ็บที่กลับมาทำงานได้ไม่เต็มความสามารถ • ค่าใช้จ่ายในการฝึกพนักงานใหม่ • ค่าใช้จ่ายของหัวหน้างานในการตรวจสอบอุบัติเหตุ • ค่าใช้จ่ายที่ผู้บริหารต้องใช้เวลาไปในการตรวจสอบอุบัติเหตุ • ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น ค่าเช่าเครื่องจักรทำงานทดแทน กำไรที่ลดลง

  5. คำตอบข้อเสนอแนะโครงการป้องกันอุบัติเหตุคำตอบข้อเสนอแนะโครงการป้องกันอุบัติเหตุ 5 ข้อ เงินที่ได้รับเหมาะสมจากการที่ไม่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น เงินที่ประหยัดได้ ปราศจากการสูญเสียการเกิดอัคคีภัยหรือหรือเครื่องจักรชำรุด เงินที่ประหยัดได้ จากกองทุนทดแทน เงินที่ประหยัดได้ จากค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น จากการทำงานซ้ำ สอง สาม ครั้ง เงินที่ประหยัดได้ ไม่ต้องจัดหาผู้ชำนาญการมาทำงานแทน

  6. ภัยเสี่ยงสูง ระดับภัยเสี่ย R R’ ภัยเสี่ยงต่ำ P P’ ความพยายามป้องกันอุบัติภัย การประเมินงบประมาณ เพื่อใช้จ่ายในโครงการป้องกันอุบัติเหตุ

  7. การประเมินงบประมาณ เพื่อใช้จ่ายในโครงการป้องกันอุบัติเหตุ เสี่ยงสูง เสี่ยงน้อย T=P+A P’+A’ ค่าใช้จ่าย Econ.opt ค่าใช้จ่ายในการป้องกันP ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม P+A ค่าความสูญเสียA การลดภัยเสี่ยง ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายกับการลดภัยเสี่ยง

  8. ค่าใช้จ่ายในการป้องกันอุบัติเหตุ แบ่งเป็น 3 ประเภท ค่าใช้จ่ายในการออกแบบ เครื่องมือ อุปกรณ์ การ์ด ติดตั้ง วัสดุเพิ่ม การวางผังโรงงาน ฯลฯ ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการ ค่าโสหุ้ย ค่าจ้าง เงินเดือน แผนปฐมพยาบาล ค่าความชำนาญ ค่าใช้จ่ายในการวางแผนและทดสอบ ทดสอบการรั่วไหล ทดสอบความแข็งแรง ทดสอบการหนีไฟ ฯลฯ

  9. การประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัยการประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัย • วัตถุประสงค์ของการประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัย • เพื่อเปรียบเทียบความร้ายแรงของอุบัติเหตุ • เพื่อทราบปัญหาของอุบัติเหตุ • เพื่อบ่งบอกความสำเร็จ หรือล้มเหลว หรือความใส่ใจ ของผู้บริหาร

  10. วัตถุประสงค์การประเมินค่าทางสถิติการบาดเจ็บในการทำงาน 1.1 เพื่อประเมินการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในแต่ละแผนก แต่ละฝ่ายหรือแต่ละหน่วยงาน หรือโรงงานหากแผนก ฝ่าย หรือหน่วยใดมีอัตราการบาดเจ็บสูงกว่าปกติ ก็เป็นหน้าที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายความปลอดภัยจะต้องหาทางพิจารณาป้องกัน  1.2 เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่อหน่วยงาน โรงงานต่อโรงงานหรือบริษัทต่อบริษัท  1.3 เพื่อประเมินผลการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในช่วงต่าง ๆ เช่น ในแต่ละเดือนหรือแต่ละปี  1.4 เพื่อใช้เป็นข้อมูลขั้นพื้นฐาน ในการวางแผนโครงการป้องกันอุบัติเหตุในโรงงานหรือใช้ในการแข่งขันการประกวดความปลอดภัย ในโครงการป้องกันอุบัติเหตุต่าง ๆ

  11. เครื่องมือที่ช่วยในการประเมินผลเครื่องมือที่ช่วยในการประเมินผล การคำนวณอัตราการเกิดอุบัติเหตุ -อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ(Frequency Rate) -อัตราความร้ายแรงของอุบัติเหตุ(Severity Rate) -ดรรชนีการประสบอันตราย (Disable Injury Index )

  12. ดัชนีที่ใช้วัดประสิทธิภาพความปลอดภัยดัชนีที่ใช้วัดประสิทธิภาพความปลอดภัย อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ (Frequency Rate, FR) FR = No. of Accident x 1,000,000 working time in man-hour อุบัติเหตุเดขึ้นบ่อยครั้ง มาก น้อย เพียงใด ในระยะเวลาหนึ่ง (ในกรณีนี้กำหนดเป็นต่อการทำงาน 1 ล้านคน-ชั่วโมง ) อัตราความรุนแรงของอุบัติเหตุ (Severity Ratio, SR) SR = DL x 1,000,000 working time in man-hour DL = Days of Lost Time หรือ จำนวนวันที่เครื่องจักรหยุดงาน รวมกับวันที่ผู้บาดเจ็บต้องหยุดงานเนื่องจากอุบัติเหตุ ที่มาของ 1ล้านชั่วโมงมาจากแนวคิด คน 500คน ทำงานเวลา 1 ปี (1ปีมี 52 สัปดาห์ๆละ5วันมีวันหยุดปีละ 10 วันโดยเฉลี่ย = 250 วัน ทำงานวันละ 8 ชม.) ฉะนั้น MH = 500*250*8 = 1,000,000 MH

  13. ดัชนีที่ใช้วัดประสิทธิภาพความปลอดภัยดัชนีที่ใช้วัดประสิทธิภาพความปลอดภัย • วันสูญเสียเฉลี่ยต่ออุบัติเหตุ (Average Days Charged Per Accident, ADC) ADC = SR FR ประเมินความรุนแรงโดยเฉลี่ยในรอบปี ในรูปของจำนวนวันทำงานที่สูญเสียไป ดัชนีการประสบอันตราย (Disabling Injury Index, DI) DI = SR x FR 1,000 และหากนำมาDI จะชี้ให้เห็นว่า การปฏิบัติงานมีระดับความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด

  14. อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ (Frequency Rate) • อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ =จำนวนครั้งของอุบัติเหตุ X 1,000,000 จำนวนชั่วโมงทำงานของคนงาน อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ ( F) = (จำนวนครั้งของอบุติเหตุที่มีการบาดเจ็บ x 1,000,000) / จำนวนชั่วโมงของคนงานจริงเช่น ในโรงงานมีคนงาน 500 คน แต่ล่ะคนทำงานปีล่ะ 50 สัปดาห์ สัปดาห์ล่ะ 48 ชั่วโมง ปรากฏว่าทั้งปีเกิดอุบัติเหตุขึ้น 60 ครั้ง และมีการขาดงานพนักงานทั้งสิ้นประมาณ 5% เนื่องจากการเจ็บป่วย ธุรรส่วนตัวและการการประสบอันตรายภายนอกโรงงานอื่น ๆอัตราความถี่ของการการอุบัติเหตุ ชั่วโมงงานทั้งหมด 500 * 50 *48 = 1200000 ชม มีการขาดงาน 5% จำนวน m.hrจริง=0.05x1,200,000= 60000 ชม ชั่วโมงที่ทำงานจริง 1200000 - 60000 = 1140000 ชม อัตรการเกิดอุบัติเหตุ ( 60 ครั้ง * 1000000 ) / 11400000อัตราความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุ 52.63 ครั้ง เกิดขึ้นบ่อยครั้งมากน้อยเพียงใด

  15. ดรรชนีการประสบอันตราย(Disableing Injury Index) ดรรชนีการประสบอุบัติเหตุ = อัตราความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุ X อัตราความร้ายแรงของอุบัติเหต 1,000 การปฏิบัติงานที่มีระดับความปลอดภัย ที่มีประสิทธิภาพเพียงใด

  16. ตัวอย่างการคำนวณ โรงงานแห่งหนึ่งมีคนงาน 500 คน ทำงานปีละ 50 สัปดาห์ และสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง และมีการขาดงานของคนงานทั้งสิ้น 5% เนื่องจากความเจ็บป่วย และธุรกิจส่วนตัวในเวลา 1 ปี มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 60 ครั้ง จะมี FR เท่าใด • FR = 60 x 1,000,000 • (500 x 50 x 48 x 0.95) = 52.63 ดังนั้น จะได้อัตราความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุ เป็น 52.63 ครั้ง / หนึ่งล้านชั่วโมงคนงาน

  17. ตัวอย่างการคำนวณต่อ จากตัวอย่างเดิม หากสำรวจพบว่าในจำนวนอุบัติเหตุ 60 ครั้ง ในปีนั้นคิดเป็นเวลาสูญเสียทั้งสิ้น 1,720 วัน จะคิดเป็น SR เท่าใด SR = 1,720 x 1,000,000 (500 x 50 x 48 x 0.95) = 1,508 วัน / หนึ่งล้านชั่วโมงคนงาน ***หมายความว่า ในปีนั้นระดับความร้ายแรงของอุบัติเหตุอยู่ที่ การเสียเวลาการทำงาน ประมาณ 1.5 วัน ต่อ 1,000 ชั่วโมงทำงานของคนงาน หมายเหตุ: หากมีการสูญเสียชีวิต หรืออวัยวะ จะมีการคำนวณแบบสูญเสียเทียบเท่า

  18. จำนวนวันสูญเสียเทียบเท่าSource: The American Standard Scale of Time Charged 6,000 วัน 6,000 วัน 3,600 วัน 3,000 วัน 2,400 วัน 600 วัน 600 วัน 400 วัน 6,000 วัน 1800 วัน 600 วัน 3000 วัน

  19. จำนวนวันสูญเสียเทียบเท่าSource: The American Standard Scale of Time Charged

  20. จำนวนวันสูญเสียเทียบเท่าSource: The American Standard Scale of Time Charged

  21. ตัวอย่างการคำนวณแบบสูญเสียเทียบเท่าตัวอย่างการคำนวณแบบสูญเสียเทียบเท่า นาย ก. นาย ข. นาย ค. ประสบอุบัติเหตุ มีผลดังนี้ นาย ก. แพทย์ให้หยุดทำงานติดต่อกันได้ 30 วัน นาย ข. นิ้วชี้ถูกกระแทกแต่ไม่ต้องตัดออก แต่รักษาตัว 8 วัน เมื่อรักษาหา แพทย์เห็นว่าจะเสียสมรรถภาพการทำงานไป 20% นาย ค. แขนขาดหนึ่งข้าง เท้าขาดหนึ่งข้าง รักษาตัว 30 วัน แล้วเสียชีวิต เพื่อคำนวณหา SR จำนวนวันสูญเสียรวมทั้ง 3 คน เป็นเท่าไหร่ ??? ก + ข + ค = 30 + (400 x 0.20) + 6,000 = 6,110 วัน

  22. ตัวอย่าง –โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงานจำนวน 500 คน โดยเฉลี่ยแล้วแต่ละคนทำงานปีละ 50 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง ตลอดปีมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 61 ครั้ง โดย 1 ครั้งทำให้มีผู้เสียชีวิต 1 คน อีก 60 ครั้งทำให้ต้องหยุดงานรวมทั้งหมด 1,200 วัน การขาดงานเนื่องจากการลาป่วยและลากิจคิดเป็นประมาณ 5% ของเวลาทั้งหมด จงคำนวณหาค่า FR, SR, ADC และ DI จำนวน ชม.-คน ทั้งหมด = 500 x 50 x 48 = 1,200,000 ชม.-คน จำนวน ชม.-คน ที่เสียไปจากการลา = 1,200,000 x 5% = 60,000 ชม.-คน จำนวน ชม.-คน จริง = 1,140,000 ชม.-คน หาชั่วโมง-คน จริงก่อน 337.96= 18.38

  23. ตัวอย่างที่ 2 โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง มีพนักงานทำงานจำนวน 80 คน ทำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง ถ้าภายในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมามีผู้ประสบอุบัติเหตุ 4 ราย ทำให้มีการสูญเสียเวลาการทำงาน 130 วัน จงคำนวณ FR SR และ ADC =8.66

  24. สมมติว่า อุบัติเหตุ 1 ราย ในจำนวน 4 รายนั้น เป็นอุบัติเหตุให้นิ้วหัวแม่มือขาดตั้งแต่โคนนิ้ว เมื่อตรวจสอบวันทำงานสุญเสียเทียบเท่าในตารางแล้วพบว่าเป็น 900 วัน อุบัติเหตุจำนวนที่เหลือ 3 ครั้ง สมมติให้มีการสูญเสียวันทำงาน 100 วัน ดังนั้น ค่า FR ยังมีค่าคงเดิมเพราะคำนวณจากจำนวนครั้งของอุบัติเหตุ เราคำนวณหาค่า DL = 900+100 = 1000

  25. ตัวอย่าง จากสถิติปี ๒๕๒๔ บริษัทเหมืองแร่แห่งหนึ่งมีคนงานร้อยคน ทำงานอาทิตย์ละ ๔๐ ซม. นับตั้งแต่ต้นเดือนมกราคมถึงสิ้นสุดเดือนมิถุนายน รวม ๖ เดือนน มีคนงานบาดเจ็บ ๑๐ คน และสูญเสียเวลาการทำงานไป ๑๑๕ วัน ( ๑ ปีมา ๕๒ สัปดาห์) จงคำนวณอัตราความถี่ของการบาดเจ็บ และอัตราความสาหัสของการบาดเจ็บ = 10X 1,000,000 = 96.15 100 X 40 X 26 อัตราความถี่ของการได้รับบาดเจ็บ = 115 X 1,000,000 = 1,105.77 100 X40 X 26 อัตราความสาหัสการบาดเจ็บ

  26. ถ้าหากคนงานที่บาดเจ็บหนึ่งคน (ในจำนวน ๑๐ คน) นี้ ซึ่งสูญเสียเวลาการทำงานไป ๑๕วัน สมมติว่าคนงานคนนี้ถูกตัดนิ้วมือไป ๓ นิ้ว (ข้างเดียว) ถามว่าบริษัทนี้ จะมีอัตราความสาหัส การบาดเจ็บ เท่ากับเท่าไร คนงาน๙คนได้รับบาดเจ็บสูญเสียเวลาไป๑๑๕ - ๑๕=   ๑๐๐วัน คนถูกตัดนิ้ว๓นิ้วเสียเวลาไป (จากตาราง)                      =   ๑,๒๐๐วัน รวม=         ๑,๒๐๐ + ๑๐๐                   =    ๑,๓๐๐ วัน = ๑,๓๐๐X ๑,๐๐๐,๐๐๐ = ๑๒,๕๐๐ ๑๐๐ X ๔๐X ๒๖ อัตราความสาหัสของการบาดเจ็บ

  27. กรณีงานได้รับบาดเจ็บสูญเสียอวัยวะในส่วนใดส่วนหนึ่ง พิการ ทุพลภาพหรือถึงแก่กรรม ให้คิดเฉพาะค่าเวลาที่เสียไปตามมาตรฐาน ไม่รวมเวลาที่คนงานหยุดจริง ๆ (๑๕ วัน) ตามตัวอย่าง ในปี๒๕๒๔บริษัทเหมืองแร่เรือขุดเฮงซวยมีเรือขุด๒ลำคือเรือขุดA  และเรือขุดBเรือขุดA  มีคนงาน๑๒๐คนทำงาน๔๐ซม. ต่อสัปดาห์ปรากฎว่าในรอบ๖เดือนที่ผ่านมา มีคนบาดเจ็บ๕ รายเรือขุด B มีคนงาน๑๔๐คนทำงาน ๔๐ ซม.ต่อสัปดาห์เช่นกัน ในรอบ๑๒เดือน มีคนบาดเจ็บ ๖ คนจงเปรียบเทียบอัตราความถี่ของการบาดเจ็บของทั้ง๒ ลำเรือ อัตราความถี่การบาดเจ็บเรือขุด A = 5 X 1,000,000 120 X 40X 26 = 40.0641 อัตราความถี่การบาดเจ็บเรือขุด B = 6 X 1,000,000 140 X 40X 52 = 20.6043 พบว่าความถี่ของการบาดเจ็บเรือขุดA  สูงกว่าเรือขุดB  มาก (อาจเป็นเพราะระบบการ ควบคุมความปลอดภัยมีประสิทธิภาพไม่เหมือนกันหรืออื่นๆ)

  28. ความครบถ้วนของรายงานด้านความปลอดภัยความครบถ้วนของรายงานด้านความปลอดภัย • ในเบื้องต้น ตามระยะเวลากำหนดหนึ่งๆ บริษัทฯ ควรจะมีการสรุป • อัตราการเกิดอุบัติเหตุ • ระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ • สาเหตุ และแนวทางการแก้ไข ของแต่ละอุบัติเหตุที่ประสบ • ในแนวทางที่ดีขึ้น • - การกำหนดตัววัดกิจกรรมที่กระทำ หรือเกิดขึ้นระหว่างการดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัย เช่น • * ปริมาณข้อมูลที่ให้กับพนักงานใหม่ *จำนวนข้อแนะนำด้านความปลอดภัยที่พนักงานแนะนำมา

  29. Safe - T- Score ( STS) ค่า Safe – T – Score :STS เป็นวิธีทางสถิติที่นำมาใช้ทดสอบความแตกต่างของอัตราความถี่ของการบาดเจ็บในอดีตกับปัจจุบัน ถ้า STS อยู่ระหว่าง +2.00 -.200 ค่าการเปลี่ยนแปลงข้อมูลทางสถิติหรืออัตราการประสบอันตรายปัจจุบันไม่แตกต่างจากในอดีตอย่างไร STS มากกว่า + 2.00 การเปลี่ยนแปลงปัจจุบันแย่กว่าอดีต STS ตั้งแต่ – 2.00 ลงไป ข้อมูลทางสถิติ ปัจจุบันดีกว่าในอดีต

  30. Safe - T- Score ( STS)

  31. Safe - T- Score ( STS)

  32. Safe - T- Score ( STS) จากตารางแปรผลได้ว่าเรือขุดสิเหร่การเกิดอุบัติเหตุในปี 2524 กับปี 2525 ไม่แตกต่างกันเพราะค่าSafe - T - Score  1.58อยู่ในช่วง   -2.00 กับ + 2.00ส่วนเรือถลาง การเกิดอุบัติเหตุสูงขึ้นอาจมีสิ่งผิดปกติจากปีก่อนแน่นอนเพราะค่า Saf e -  T -  Score   3.17 สูงกว่า   +2.00 สรุปว่าเรือขุดสิเหร่ควบคุมความปลอดภัยได้ดีกว่าเรือขุดถลางในปีที่ผ่านมา

  33. Safe - T- Score ( STS) ข้อเสียของการประเมินค่าของการเกิดอุบัติเหตุโดยใช้หลักสถิติ 1. ไม่เหมาะสมกับการนำมาใช้ในระดับปฏิบัติงาน เพราะ 1.1   เป็นการยากในการทำความเข้าใจ  1.2  เป็นการยากและเสียเวลาในการเก็บบันทึกข้อมูล  1.3   ล่าช้าต้องรอให้มีตัวเลขคือต้องให้มีกรณีอุบัติเหตุก่อน              2.ความผิดพลาดข้อมูลเกิดขึ้นได้ง่าย เช่น 2.1  การใช้และแปรผลผลิตของผู้ใช้ 2.2ใช้ไม่เหมาะกับงานบางอย่างเช่น งานเหมืองแร่คนงานมีน้อยไม่เหมือนโรงงาน อุตสาหกรรม จำนวนความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุต่ำมากหรือแทบวัดไม่ได้แต่การเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งมักจะมีความสาหัสสูง

  34. การบ้าน • ถ้าในรอบปีที่ผ่านมามีคนงานทั้งหมด 2 กะ ทำงานกะละ 8 ชม. กะแรก จำนวน 40 คน กะที่ 2 จำนวน 30 คน ทำงานทั้งปีเป็นเวลา 250 วัน และเกิดอุบัติเหตุ 4 ครั้ง มีผู้ได้รับบาดเจ็บดังนี้ครั้งที่ 1 บาดเจ็บ 2 คน โดยที่ คนแรกกระดูกแตกปลายนิ้วชี้ คนที่ 2 แตกปลายนิ้วกลางครั้งที่ 2 บาดเจ็บ 1 คน โดยพิการไร้ความสามารถตลอดชีวิตครั้งที่ 3 บาดเจ็บ 3 คน โดยที่ทั้ง 3 สูญเสียการได้ยินไป 1 ข้างเหมือนกันครั้งที่ 4 บาดเจ็บ 1 คน โดยตาบอดหนึ่งข้าง • จงคำนวณหาความถี่และความรุนแรงของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ( FR, SR, ADC, DI )

  35. 50 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 40*2=80 ชั่วโมง ทำงานทั้งปี 250 วัน คงงานทั้งหมด 30+40=70 คนเกิดเหตุ 4 ครั้ง(250 วัน 50 สป@ละ 40 hr. ( สป.ละ 5 วัน@ละ 8 hr.) • ครั้งที่ 1 บาดเจ็บ 2 คน กระดูกแตก ปลายนิ้วชี้ (100) แตกปลายนิ้วกลาง(75) • ครั้งที่ 2 บาดเจ็บ 1 คน พิการไร้ความสามารถตลอดชีวิต(6000) • ครั้งที่ 3 บาดเจ็บ 3 คน สูญเยการได้ยินไป 1 ข้าง(800 ) • ครั้งที่ 4 บาดเจ็บ 1 คน ตาบอด 1 ข้าง(1800) คำนเวลาการสูญเสียถ้าให้มา เช่น 5% ก็มีวิธี หา 2 วิธี ถ้าเรา x 0.95 จาก 100% ก็จะได้ค่าชั่วโมงการทำงานจริงเลย ไม่ต้องไปลบออก ถ้า เราX 0.05 จาก 100 % ได้เท่าไหร่แล้วจะต้องเอาไปลบออกจาก ชั่วโมงทำงานทั้งหมดก่อนถึงจะได้ ชั่วการทำงานจริง

  36. END

  37. ตัวอย่างที่ 1 จากสถิติ 2525 บริษัทแห่งหนึ่งมีคนงาน 100 คน ทำงานอาทิตย์ละ 40 ชั่วโมง นับตั้งแต่เดือนมกราคมถึงสิ้นสุดเดือนมิถุนายน รวม 6 เดือน มีคนงานบาดเจ็บ 10 คน และสูญเสียเวลาทำงานไป 115 วัน (1 ปี มี 52 สัปดาห์)จงคำนวณหาอัตราความถี่ของการบาดเจ็บและอัตราความสาหัสของการบาดเจ็บวิธีทำ อัตราความถี่ของการบาดเจ็บ (I.F.R.) = N/MH X 1,000,000= (10 X 1,000,000) / (100 X 40 X 26) = 9อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ (I.S.R) = DL / MH X 1,000,000= (115 X 1,000,000) / (100 X 40 X 26) = 1,105จากการคำนวณพบว่าบริษัทแห่งนี้มีผู้ได้รับบาดเจ็บประมาณ 96 รายต่อชั่วโมง การทำงาน 1 ล้านชั่วโมง และมีวันหยุดงานหรือวันที่สูญเสียไป 1,105 วันต่อชั่วโมงการทำงาน 1 ล้านชั่วโมง

More Related