1 / 38

หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมาของ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 แผนปฏิบัติการอาเซียน ASOD Workplan การประเมินผลการด

ASEAN Leaders’ Declaration on Drug - Free ASEAN 2015 : ปฏิญญาของผู้นำอาเซียน เพื่อให้อาเซียนปลอดยาเสพติดในปี ๒๕๕๘ ๑ พฤษภาคม๒๕๕๕ โดย นายจเร ผกผ่า ผู้อำนวยการส่วน ยุทธ ศาสตร์และอำนวยการ สำนักการต่างประเทศ. หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมาของ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015

carolyn
Télécharger la présentation

หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมาของ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 แผนปฏิบัติการอาเซียน ASOD Workplan การประเมินผลการด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ASEAN Leaders’ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 :ปฏิญญาของผู้นำอาเซียนเพื่อให้อาเซียนปลอดยาเสพติดในปี ๒๕๕๘๑ พฤษภาคม๒๕๕๕โดยนายจเร ผกผ่าผู้อำนวยการส่วนยุทธศาสตร์และอำนวยการสำนักการต่างประเทศ

  2. หัวข้อการนำเสนอ • ความเป็นมาของ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 • แผนปฏิบัติการอาเซียน ASOD Workplan • การประเมินผลการดำเนินการครึ่งแผน • กรอบความร่วมมือด้านเสพติดในภูมิภาคอาเซียน • ตัวอย่างแนวทางการดำเนินการของไทยตามแผนปฏิบัติการอาเซียน

  3. เนื้อหาในกฎบัตรอาเซียนมีอยู่ ๑๓ บท • กฎบัตรอาเซียนทำหน้าที่เป็นธรรมนูญของอาเซียน วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร ทำให้อาเซียนเป็นองค์การที่มีกฎเกณฑ์การทำงาน เพื่อไปสู่ประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. ๒๐๑๕(พ.ศ. ๒๕๕๘) กฎบัตรอาเซียน

  4. กฎบัตรอาเซียน 12. อาเซียนจะเสริมสร้างความร่วมมือในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย มั่นคง และปลอดยาเสพติดสำหรับประชาชนของอาเซียน

  5. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กำหนดกรอบกว้าง ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint AEC Blueprint ASCC Blueprint แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity)

  6. Joint Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 • การประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ครั้งที่ ๓๑ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๑ • ปฏิญญาร่วมสำหรับการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนภายในปี ๒๕๖๓ • การประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ครั้งที่ ๓๓ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๓ • ร่นระยะเวลาการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนเป็นภายในปี ๒๕๕๘

  7. ประชาคมอาเซียน สังคมและ วัฒนธรรม การเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ B6 อาเซียนปลอดยาปี 2558 B4.1 เร่งรัดความร่วมมือต่อต้านการอาชญากรรมข้ามชาติ ลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติด ลดการผลิต การลำเลียง อาชญากรรม ลดแพร่ระบาด พัฒนาศักยภาพ การปราบปรามยาเสพติด ควบคุมเคมีภัณฑ์ เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD) เจ้าหน้าที่อาวุโส/รัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ (SOM TC)

  8. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กำหนดกรอบกว้าง ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint AEC Blueprint ASCC Blueprint SOMTC Workplan ASOD Workplan แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity)

  9. ความร่วมมือด้านยาเสพติดภายใต้แผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงความร่วมมือด้านยาเสพติดภายใต้แผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคง • ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 โดยการเสริมสร้างมาตรการป้องกันการผลิตยาเสพติด การนำเข้า ส่งออกเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้น มาตรการควบคุมการส่งผ่านยาเสพติดระดับภูมิภาค การขยายความร่วมมือข้ามพรมแดน โดยการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และการพัฒนาศักยภาพ • เสริมสร้างศักยภาพด้านกระบวนการยุติธรรม รวมถึงศาล อัยการและเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย

  10. ข้อเสนอเพิ่มเติมจากที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดในแผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนข้อเสนอเพิ่มเติมจากที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดในแผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน • พัฒนาการบริหารจัดการด้านกฎหมายในระดับทวิภาคีและพหุภาคีเพื่อการต่อสู้กับการลักลอบค้ายาเสพติดและเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้น • ให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกอาเซียนในด้านการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการตรวจพิสูจน์เคมีภัณฑ์ วิเคราะห์คุณลักษณะเพื่องานปฏิบัติการและการข่าวกรอง • ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเครือข่ายยาเสพติดและเฝ้าระวัง (Watch-list) กิจกรรมด้านยาเสพติดของเครือข่ายเหล่านั้น • ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวิธีการที่ดีที่สุดในการทำลายเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้นที่ยึดได้

  11. แผนงานจัดตั้งประชาคมด้านสังคมและวัฒนธรรมแผนงานจัดตั้งประชาคมด้านสังคมและวัฒนธรรม เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านยาเสพติดอาเซียน (ASEAN Senior Officials on Drug Matters- ASOD) แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015

  12. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การดำเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ พร้อมทั้งลดผลต่อเนื่องต่างๆ ในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม ในที่นี้รวมถึงการลดลงอย่างยั่งยืน และมีนัยสำคัญ การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด

  13. เกณฑ์วัดผลด้านพื้นที่ปลูกพืชเสพติดเกณฑ์วัดผลด้านพื้นที่ปลูกพืชเสพติด พื้นที่ปลูกฝิ่นภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ ไม่มีนัยสำคัญ พื้นที่ปลูกพืชกัญชาภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ ไม่มีนัยสำคัญ จัดให้มีหนทางการดำรงชีพอย่างยั่งยืนสำหรับกลุ่มผู้ที่เคยปลูกพืชเสพติดมาก่อน

  14. เกณฑ์วัดผลด้านการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด การขจัดการลักลอบและการนำสารตั้งต้นไปใช้ในทางที่ผิด ส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดนและการปฏิบัติการด้าน การปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ

  15. เกณฑ์วัดผลด้านการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติดเกณฑ์วัดผลด้านการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด ลดการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติดในประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเฉพาะ อาทิ กลุ่มเด็กเร่ร่อน กลุ่มขายบริการทางเพศและลูกจ้างในโรงงาน เพิ่มช่องทางในการเข้ารับบริการด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเพื่อสร้างความมั่นใจในการรองรับการกลับสู่สังคม สนับสนุนและส่งเสริมภาคีต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาสังคมให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการใช้ยาเสพติด

  16. การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) • สถานการณ์ยาเสพติดในภูมิภาค มีดังนี้ • การใช้ ATS มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาก • การปลูกพืชเสพติดมีแนวโน้มลดลง • นักค้ายาเสพติดชาติอื่นๆ ให้วิธีซ่อนยาเสพติดที่หลากหลาย • การผลิตยาเสพติดเปลี่ยนจากโรงงานขนาดใหญ่เป็น kitchen lap ซึ่งตรวจพบได้ยาก

  17. การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 2. ต้องมีการปรับปรุงอย่างมากเพื่อให้บรรลุแผนปฏิบัติการที่ตกลงไว้ • คะแนนรวมด้านการลดอุปสงค์อยู่ที่ร้อยละ 80 ซึ่งดีกว่าด้านการลดอุปทานซึ่งอยู่ประมาณร้อยละ 75 • ในด้านการลดอุปทาน ความร่วมมือข้ามชายแดนมีคะแนนร้อยละ 48 ซึ่งต่ำกว่าด้านอื่นๆ (การควบคุมเคมีภัณฑ์ และการกำจัดยาเสพติดสังเคราะห์) ซึ่งอยู่ที่ประมาณร้อยละ 73 การปลูกพืชเสพติดมีแนวโน้มลดลง • การพยายามลดการปลูกพืชเสพติดอยู่ที่ร้อยละ 60 ขณะที่การพัฒนาทางเลือกอยู่ที่ร้อยละ 45 • ในด้านการลดอุปสงค์ ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ-เอกชนอยู่ที่ร้อยละ 85 ซึ่งต่ำกว่าด้านอื่นๆ (การลดการแพร่ระบาด และการเพิ่มการเข้าถึงการบำบัด) ซึ่งมีคะแนนประมาณร้อยละ 87 • ข้อสังเกตคือ การเข้าถึงการบำบัดยังไม่ได้แก้ปัญหาการใช้ ATS

  18. การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 3. ประเทศอาเซียนต้องสร้างเครือข่ายในระดับปฏิบัติ เพื่อรับมือกับ อุปทานยาเสพติดที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา • ต้องมีความพยายามเพื่อบรรลุ ASEAN Single Window และต้องปรับปรุง AMLAT • การฝึกอบรมด้านการควบคุมเคมีภัณฑ์ต้องครอบคลุมเจ้าหน้าที่ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง เช่น จนท.ปราบ ศุลกากร อัยการ ฯลฯ ซึ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลแนวโน้มการผลิต/การใช้ ATS และเฮโรอีนให้เป็นปัจจุบันเสมอ • ต้องสร้างความเป็นหุ้นส่วนกับภาคอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์และยา • ควรมีการดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือกในประเทศอื่นๆ นอกจากไทย โดยอ้างอิงจากการวิจัย

  19. การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 4. ต้องมีความพยายามด้านการลดอุปสงค์มากขึ้น • การป้องกันและการให้การศึกษาเบื้องต้นในแต่ละประเทศอยู่ในระดับที่น่าพอใจ แต่มีบางด้านที่ต้องปรับปรุง เช่น ทักษะชีวิต และทักษะของผู้ปกครอง ยังไม่มีการรายงานความร่วมมือของประเทศอาเซียนมากนัก • จำนวนผู้เสพ/ผู้ติดที่มากกว่าจำนวนสถานบำบัด ทำให้เกิดข้อพิจารณาว่าขยายจากการบำบัดในสถาบันไปสู่การบำบัดในชุมชนมากขึ้น • ยังไม่มีการระบุข้อแตกต่างระหว่างการบำบัด ATS กับอนุพันธุ์ฝิ่น ดังนั้นจึงต้องมีมาตรฐานสำหรับบุคลากรในสถานบำบัดและฟื้นฟู • ประเทศส่วนใหญ่ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัย แต่ต้องมีการดำเนินการในระดับนโยบายมากขึ้น โดยเฉพาะด้านการป้องกัน/การศึกษา การบำบัด/ฟื้นฟู การติดตามและประเมินผล

  20. การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 5. ความร่วมมือระดับภูมิภาคของอาเซียนมีส่วนสำคัญต่อความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นจัดทำกฎหมาย/ระเบียบข้อบังคับ หรือการเพิ่มขีดความสามารถในระดับบริหาร/ปฏิบัติการ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องส่งเสริมให้มีการลดช่องว่างระหว่างประเทศต่างๆ เนื่องจากยาเสพติดเป็นอาชญากรรมข้ามชาติ ประเทศอาเซียนส่วนใหญ่เห็นว่าจำเป็นต้องมีการเสริมสร้างกิจกรรมของคณะทำงาน 5 ด้าน

  21. การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ • คณะทำงานด้านป้องกันยาเสพติด (Ph.) – ที่ประชุมมีมติให้ประเทศ • สมาชิกอาเซียนจัดทำร่างข้อเสนอเพื่อการพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกัน • ยาเสพติดผ่านศูนย์ฝึกอบรมด้านการป้องกันยาเสพติดที่จัดตั้งขึ้น • ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เสนอแนะให้ประเทศสมาชิกมีการ • แลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศและรูปแบบการป้องกันฯ ที่มีประสิทธิ- • ภาพ ทั้งนี้ ได้มีข้อเสนอให้จัดทำข้อเสนอการฝึกอบรมที่ประสบผลสำเร็จใน • ประเทศอินโดนีเซีย คือ การใช้ภาคเอกชนสนับสนุนโครงการป้องกัน • ยาเสพติด

  22. การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ 2. คณะทำงานด้านบำบัดรักษายาเสพติด (Ma) – ที่ประชุมเสนอให้มีการ จัดทำโครงการระดับภูมิภาคด้านการบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพและ การดูแลหลังการบำบัดรักษา ให้มีการเพิ่มพูนศักยภาพของบุคลากรด้านการ บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ให้มีการจัดตั้งกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (Pool of experts on Treatment and Rehabilitation at regional level)

  23. การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ 3. คณะทำงานด้านปราบปรามยาเสพติด(Th) –ที่ประชุมเสนอให้มีการ ควบคุมอย่างเข้มงวดของการใช้ซูโดอีเฟรดรีนและยาที่ถูกกฎหมายอื่น ๆ พร้อมกับเสนอแนะให้มีการดำเนินการตามข้อเสนอของที่ประชุมรัฐมนตรี อาเซียนสมัยพิเศษด้านยาเสพติดที่ให้เสริมสร้างความเข้มแข็งของการสกัดกั้น ยาเสพติดโดยทำเป็นโครงการระดับภูมิภาคร่วมกันเช่นโครงการสกัดกั้น ยาเสพติด ณ ท่าอากาศยาน นอกจากนี้ที่ประชุมเสนอให้คณะทำงานด้าน การปราบปรามฯ ของ ASOD ร่วมอยู่ในการประชุม SOMTC ด้วย นอกเหนือ จากนี้ก็ได้เสนอให้เสริมสร้างศักยภาพและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ให้กับพื้นที่ตามแนวชายแดนในเรื่องของการสืบสวนติดตาม การข่าว นิติ- วิทยาศาสตร์ การสืบสวนทางการเงินและการดำเนินคดี

  24. การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ • 4. คณะทำงานด้านวิจัย (SP) – ที่ประชุมเสนอให้ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ • ได้มีการจัดทำการสำรวจข้อมูลการแพร่ระบาดของยาเสพติด นำเสนอ • เกี่ยวกับรูปแบบการศึกษาวิจัยให้ที่ประชุมทราบ พร้อมกับเสนอให้มีการร่วม • พิจารณาข้อเสนอของเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านสาธารณสุขในการประชุมคณะ • ทำงานด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด นอกจากนี้ • คณะทำงานได้เสนอว่า เมื่อประเทศสมาชิกอาเซียนได้รับผลการศึกษาประเมิน • ระยะครึ่งแผนของ ASOD Workplan แล้ว ควรจะมีการทบทวนผลการศึกษา • และจัดลำดับความสำคัญของแผนปฏิบัติการในแต่ละคณะทำงาน โดย • โครงการระดับภูมิภาคนั้น จะขึ้นอยู่กับแผนปฏิบัติการที่ได้รับการจัดลำดับ • ความสำคัญแล้ว

  25. การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ 5. คณะทำงานด้านพัฒนาทางเลือก – ที่ประชุมเห็นพ้องกันว่าความยั่งยืนเป็น เรื่องจำเป็นในการดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือก และโครงการพัฒนาทาง- เลือกควรครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน ทั้งในเรื่องของการศึกษา ปัจจัยพื้นฐาน ทางกายภาพ การบริการสาธารณสุขและบริการสังคมต่าง ๆ กองทุนกู้ยืม ขนาดเล็ก และความพยายามในการแก้ไขปัญหาความยากจน ปัจจัยที่นำไปสู่ ความสำเร็จของโครงการพัฒนาทางเลือก คือ การพัฒนาบุคลากร การตลาด การค้าและผลิตภัณฑ์จากการพัฒนาทางเลือก นอกเหนือจากนี้ ประเทศ สมาชิกเห็นว่าควรมีการจัดทำแผนปฎิบัติการและข้อเสนอโครงการที่รับรอง โดยประเทศสมาชิกเพื่อขอรับการสนับสนุนความช่วยเหลือทั้งทางวิชาการและ ทางการเงินจากกลุ่มประเทศสมาชิกเอง ประเทศคู่เจรจาและองค์การระหว่าง ประเทศอื่น ๆ

  26. กรอบความร่วมมือด้านเสพติดในภูมิภาคอาเซียนกรอบความร่วมมือด้านเสพติดในภูมิภาคอาเซียน ความร่วมมือ 7 ฝ่ายภายใต้ MOU 1993 ความร่วมมือ ในกรอบอาเซียน ความร่วมมือ ทวิภาคี กรอบ ความร่วมมือ • (ASOD) • คณะทำงาน • 1. ป้องกัน (Phi) • 2. บำบัดรักษา (Ma) • 3. ปราบปราม (Th) • 4. วิจัย (SP) • 5. พัฒนาทางเลือก • (SOMTC) • ผู้นำ • (Lead Shepherd) • Illicit Drugs • Trafficking Sub-Regional Action Plan ไทย-พม่า ไทย-ลาว ไทย-กัมพูชา ไทย-จีน ไทย-เวียดนาม ไทย-มาเลเซีย กลไก การประชุมระดับรัฐมนตรี/จนท.อาวุโส สาขาความร่วมมือ 5 ด้าน 1) ลดอุปสงค์ยาเสพติด 2) ยาเสพติดและโรคเอดส์ 3) การพัฒนาทางเลือก 4) การปราบปรามยาเสพติด 5) กระบวนการทางกฎหมาย -ด้านปราบปราม -ด้านบำบัดรักษา -ด้านพัฒนาทางเลือก -ความช่วยเหลือทางวิชาการ/พัฒนาศักยภาพ ASOD Workplan (2009-2015) Mid-term review ปฏิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) (Joint Declaration For a Drug Free ASEAN) เป้าหมาย

  27. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • วิเคราะห์สาเหตุ ปัญหาการปลูกพืชเสพติด • จัดสรรเงินทุนภาครัฐสนับสนุนเกษตรกรที่เลิกปลูกบูรณาการกับแผนเศรษฐกิจ • สำรวจพืชเสพติดต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • พัฒนาความร่วมมือทวิภาคี/ภูมิภาคด้าน AD/share best practice/experience • ส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนกับทุกภาคส่วน องค์กรระหว่างประเทศ • เพิ่มมาตรการทางกฎหมาย 1. พื้นที่ปลูกพืชเสพติด ไม่มีนัยสำคัญ ในปี 2558 • ร่วมกับโครงการหลวง แม่ฟ้าหลวง ดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือกในประเทศและต่างประเทศ • มีการสำรวจพืชเสพติดประจำปี • มีการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับประเทศต่างๆ • โครงการขยายผลโครงการหลวง และโครงการพัฒนาทางเลือกอย่างยั่งยืนไทย-เมียนมาร์ • การสำรวจพืชเสพติดประจำปี และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง

  28. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • โครงการขยายผลโครงการหลวง และโครงการพัฒนาทางเลือกอย่างยั่งยืนไทย-เมียนมาร์ และเผยแพร่ AD ตำราพระเจ้าอยู่หัวผ่านการฝึกอบรม ดูงาน • ผลักดันสิทธิทางภาษีสินค้า AD ใน AFTA • ผลักดันInternational Guiding Principle on AD ในระดับสากลต่อไป • ร่วมกับโครงการหลวง แม่ฟ้าหลวง ดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือกในประเทศและต่างประเทศ • ใช้กลไกการตลาดและมาตรการภาษีสินค้า AD ผ่านกรอบความร่วมมือเศรษฐกิจ ACMECs • มีการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับประเทศต่างๆ • พัฒนา International Guiding Principle on AD ในระดับสากล • การพัฒนาอย่างยั่งยืน การหารายได้ทดแทนพืชเสพติดผ่านความร่วมมือภูมิภาค • จัดการความยากจน ความมั่นคงทางอาหาร เกษตรกรที่เลิกปลูก การย้ายพื้นที่ปลูกพืชเสพติด • ส่งเสริมการตลาดสำหรับสินค้า AD • พัฒนาความช่วยเหลือทางวิชาการด้านปลูกพืชทดแทน สร้างความเป็นสถาบันด้านการพัฒนาทางเลือก 2. จัดให้มีหนทางพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับผู้เคยปลูกพืชเสพติด

  29. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • สนับสนุนโครงการ Prism และ Cohesion แสวงหาความช่วยเหลือเพื่อมาตรฐานการควบคุมของอาเซียน • ร่วมมือกับศุลกากรบูรณาการรูปแบบการแจ้งข่าวสารสอดรับกับ AFTA และ ASEAN Single Window • พัฒนาศักยภาพบุคลากรในประเทศ • พัฒนาศักยภาพการตรวจพิสูจน์ • พัฒนาความเป็นหุ้นส่วนกับอุตสาหกรรมเคมี ยา • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ Best Practice • PEN • พัฒนากฎหมายและกลไกมาตรการเสริม • มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่อเนื่องกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง PEN • ASEAN Precursors and Chemical Control Training • Drug Profiling • Code of Conduct • ให้ Pseudoephedrine เป็นวัตถุออกฤทธิ์ฯ มีโทษรุนแรงขึ้น • ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ CLMV • ยกระดับ Regional Drugs Scientific Detection Center • พัฒนาความเป็นหุ้นส่วน ภาคีเครือข่ายควบคุมเคมีภัณฑ์ และสารตั้งต้นต่อเนื่อง • ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนสร้างเครือข่ายเจ้าหน้าที่สนามอย่างต่อเนื่อง 1. ขจัดการลักลอบเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้น และขจัดเครือข่ายการผลิตยาเสพติด

  30. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • ใช้กฎหมายยึดทรัพย์ ฟอกเงิน CD กับอาชญากรรมเกี่ยวข้องยาเสพติดเต็มที่ • อบรม จนท.ปราบปราม ศุลกากร และที่ปฏิบัติงานชายแดน • เพิ่มการแลกเปลี่ยนข้อมูลในหน่วยปราบและกระบวนการยุติธรรม • ปรับสภาพหน่วยตามเทคโนฯ เส้นทางลักลอบที่เปลี่ยนไป • พัฒนาการรวบรวมและยอมรับพยานหลักฐานของกระบวนการยุติธรรม • ติดตามการขายยาทาง Cyber • กระตุ้นการแลกเปลี่ยนข้อมูลกลุ่มเครือข่ายนักค้า • พัฒนาศักยภาพจนท. ศาล อัยการ • ใช้ ASEAN MLAT ให้เป็นประโยชน์ • ยึดทรัพย์กว่า 5,000 คดี เกือบ 2,000 ล้านบาท • บูรณการมาตรการยึดทรัพย์ ฟอกเงิน ภาษี • แลกเปลี่ยนข้อมูลเครือข่าย MO และ Drug Profiling อย่างต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมกระบวนการยุติธรรมสร้างความเข้าใจอย่างต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมเจ้าหน้าที่ชายแดนทั้งทวิภาคี พหุภาคีเป็นระยะ • บูรณาการมาตรการยึดทรัพย์อย่างต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมกระบวนการยุติธรรมต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมเจ้าหน้าที่ชายแดนต่อเนื่อง 2. ขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด

  31. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • ผลักดันการประชุมทวิ BLO ต่อเนื่อง • พัฒนาการปราบปรามข้ามพรมแดนระดับพหุภาคี • ผลักดันให้สมาชิกจัดตั้ง AITF และจุดประสาน • การประชุม AITF ที่อินโดนีเซียต้นเดือน ก.พ 56 • รวมพลังขยาย/จัดตั้ง BLO และร่วมมือในระดับท้องถิ่น ประเทศ ภูมิภาค • ร่วมมือเข้มข้นในระดับท้องถิ่น ประเทศ ภูมิภาค • เพิ่มความร่วมมือต่อสู้การลักลอบลำเลียงทางน้ำ อากาศ และจัดตั้งระบบการติดต่อสื่อสาร ท่าเรือและท่าอากาศยานสากล 3. ส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดน • มี BLO กับพม่า 3 จุด ลาว 11 จุด กัมพูชา 7 จุด • มอบวัสดุอุปกรณ์สนันสนุนเสริมศักยภาพของ BLO ลาว พม่าและกัมพูชา • จัด AITF Workshop พ.ค. 55 และ AITF Consultation พ.ย. 55 • ฟิลิปปินส์

  32. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • รณรงค์สร้างความตระหนักและป้องกัน • ป้องกันการใช้ยาในครอบครัว โรงเรียน สถานประกอบการ ชุมชน • พัฒนาโครงการพิเศษสำหรับกลุ่มเสี่ยง • ขอรับการสนับสนุนจากประชาชน • เข้มข้นโครงการป้องกันการใช้ยาเสพติดกับการแพร่ HIV/AIDs • พัฒนาคู่มือฝึกอบรมสำหรับวางแผนและปฏิบัติ • สร้างความเห็นหุ้นส่วนรัฐ เอชน สื่อมวลชน สถาบันการศึกษา ศาสนา • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ บทเรียน • พัฒนาเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญและผู้ฝึกอบรมการลดอุปสงค์ • โครงการบ้านอุ่นใจ • การอบรมครูพระ ครู DARE • การนำศิลปินดาราร่วมรณรงค์ • อบรมวิทยากรป้องกันยาเสพติด วิทยากรกระบวนการ • โครงการหมู่บ้านกองทุนแม่ • คู่มือวิทยากรป้องกัน • รณรงค์ต่อเนื่อง • ใช้ประโยชน์จากวิทยากรที่พัฒนา ครูพระ ครู DARE ต่อเนื่อง • กระตุ้นภาคเอกชนให้ความร่วมมือสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดในสถานประกอบการ • การพัฒนาวิทยากรต่อเนื่อง 1. ลดการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด

  33. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • จัดระบบบำบัดให้เหมาะสม • ขยายกิจกรรมบำบัดและดูแลภายหลังการบำบัดในชุมชน • สร้างความมั่นใจด้านการสนับสนุนของครอบครัว ชุมชนในการกลับเข้าสังคม • พัฒนาระบบข้อมูลทั้งระบบ • อำนวยความสะดวกการเข้าถึงบริการ • สร้างสถานที่บำบัดทุกพื้นที่ที่ทำได้ • จัดให้มีความช่วยเหลือการสร้าง บำรุงรักษาสถานบำบัด • โครงการบ้านอุ่นใจ • บำบัดกว่า 5 แสนคน • ระบบ บสต. • การติดตามดูแลหลังบำบัด • พัฒนาระบบบูรณาการการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพให้สามารถเข้าถึงบริการได้สะดวกเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ • การติดตามดูแลหลังการบำบัดรักษาอย่างเข้มข้น • พัฒนาระบบ บสต. ต่อเนื่อง 2. เพิ่มช่องทางในการเข้ารับบริหารด้านบำบัด ฟื้นฟู เพื่อสร้างความมั่นใจการกลับคืนสู่สังคม

  34. แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • ประสานความร่วมมือรัฐ ประชาสังคม วางแผน ดำเนินการ ติดตามผลในระดับพื้นที่ ประเทศ และจัดให้มีการฝึกอบรมวิชาชีพ การจ้างงาน • เป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา วิจัย พัฒนารูปแบบการสื่อสารมวลชน • สบับสนุนองค์กรศาสนา ชุมชน เอกชนในการดำเนินกิจกรรมสร้างความตระหนักกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ • ทำโครงการป้องกันในสถานประกอบการ และฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน • พัฒนาแนวทางระดับประเทศส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคเอกชน ชุมชน ในกิจกรรมสร้างความตระหนัก • ให้องค์กรที่ไม่ใช่ภาครัฐเข้ามาร่วมในกระบวนการจัดทำนโยบาย วางแผน และดำเนินการป้องกันและการศึกษา • เครือข่ายวิชาการสารเสพติด • การประชุมร่วมกับ TNI แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นการจัดทำนโยบาย • การอบรมครูพระ ครู DARE ครูแกนนำ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน • โครงการบ้านอุ่นใจ กองทุนแม่ • ผลิตชุดนิทรรศการ สื่อ • ศิลปินต้านยา • กิจกรรมในโรงเรียน • แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็นเพื่อจัดทำนโยบายด้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง • ผลักดันให้ภาคีเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักการป้องกันการใช้ยาเสพติดอย่างจริงจัง 3. สนับสนุนและส่งเสริมภาคีทั้งรัฐ เอกชน ประชาสังคม ให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาการใช้ยาเสพติด

  35. ภาพรวมแผนผังกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศภาพรวมแผนผังกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการสกัดกั้นและปราบปรามยาเสพติด • NCCD ACCORD ASOD เป้าหมายมุ่งให้เกิดปฏิบัติการร่วม การดำเนินการตามหมายจับ การทลายแหล่งผลิต และ พัฒนาประสิทธิภาพ BLOs กลไกภูมิภาค อนุสกัดกั้น อนุตปท. อนุปราบ MOU1993 JC (กต.) Bilateral Meetings • ความช่วยเหลือ (TCAS) • การประชุมระหว่างประเทศ ผู้สนับสนุน/ ขับเคลื่อนแผน ปปส.สกต. JWG ด้านความมั่นคง (สมช.) BIMSTEC(สมช.) • บริหารจัดการ • รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล • การสืบสวนร่วม ปปส. สปป. ผู้รับผิดชอบหลัก AMMTC (สตช.) กลไกที่เกี่ยวข้อง ผู้ประสานงาน ในพื้นที่ระหว่าง BLOไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน • จัดประชุมผู้ว่าไทย-ลาวอีสานบน • จัดประชุมผู้ว่าไทย-ลาวอีสานล่าง • จัดประชุมผู้ว่าไทย-กัมพูชา GBC/RBC (กห.) ปปส.ภ. ผู้ว่า-เจ้าแขวง (มท.) • Tactical Trainings ปปส. • (สพบ./สปป./สวพ.) • การฝึกร่วม • หลักสูตรการข่าว • หลักสูตรปราบปราม/สกัดกั้น • หลักสูตรตรวจพิสูจน์ ศพส.จ. BLOs (T) (นายอำเภอ) BLOs (MY/CA/L) ศพส.มท. กลไกพื้นที่ ศพส.อ กิจกรรมร่วมกันเป็นประจำ รายงานตาม หขส. ตามห้วงเวลา ประชุมอย่างเป็นทางการอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ต.ภ./ตม. ศุลกากร

  36. ความร่วมมือในกรอบอาเซียนเพื่อการควบคุมยาเสพติดความร่วมมือในกรอบอาเซียนเพื่อการควบคุมยาเสพติด ปฏิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนภายในปี 2558 (Joint Declaration For a Drug Free ASEAN 2015) ASOD Workplan (2009-2015) 3-4 เม.ย. 55 ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 20 ณ กรุงพนมเปญ (ASEAN Leaders’ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015) ASOD Workplan 2012 Mid-term Review 31 ส.ค. 55 การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนสมัยพิเศษด้านยาเสพติด ณ กรุงเทพมหานคร (Special ASEAN Ministerial Meeting on Drug Control) มุ่งเน้นความร่วมในการสกัดกั้นพื้นที่ชายแดนและป้องกันเยาวชนคนรุ่นใหม่ไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด

  37. Thank you

More Related