1 / 31

การบริหารจัดการเครือข่ายการวิจัย สาขาพยาบาลศาสตร์

การบริหารจัดการเครือข่ายการวิจัย สาขาพยาบาลศาสตร์. ที่ประชุมคณบดีและหัวหน้าสถาบันการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ วันที่ 6 ตุลาคม 2546. มกราคม 2545. ทบวง (อ.ก.ม. วิสามัญเกี่ยวกับการสรรหาและพัฒนา) จัดทำโครงการพัฒนาอาจารย์และบัณฑิตศึกษาควบคู่กับการพัฒนาขีดความสามารถด้านการวิจัย.

carrington
Télécharger la présentation

การบริหารจัดการเครือข่ายการวิจัย สาขาพยาบาลศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการเครือข่ายการวิจัย สาขาพยาบาลศาสตร์ ที่ประชุมคณบดีและหัวหน้าสถาบันการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ วันที่ 6 ตุลาคม 2546

  2. มกราคม 2545 ทบวง (อ.ก.ม. วิสามัญเกี่ยวกับการสรรหาและพัฒนา) จัดทำโครงการพัฒนาอาจารย์และบัณฑิตศึกษาควบคู่กับการพัฒนาขีดความสามารถด้านการวิจัย ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์

  3. 7 พฤษภาคม 2545 ที่ประชุมคณบดีได้นำหารือในการประชุม ทค.พย. มีมติให้ตั้งคณะทำงานร่างโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายนักวิชาการทางการพยาบาลที่สอดคล้องกับกระบวนการปฏิรูปสุขภาพ โดยมอบหมายให้ รศ.ดร.วิจิตร ศรีสุพรรณ เป็นประธานคณะทำงาน ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)

  4. 9 มิถุนายน 2545 คณะทำงานได้ประชุมร่วมกันวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยทางการพยาบาลในประเทศไทยและนำเสนอ ทค.พย. เพื่อร่วมกำหนด Research area และโจทย์หัวข้อวิจัย 5 กลุ่ม 1. กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง 2. กลุ่มผู้สูงอายุ 3. กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ 4. กลุ่ม Nursing system 5. กลุ่มสตรีนิยม ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)

  5. 29 กรกฎาคม - 1 สิงหาคม 2545 จัดประชุมวิชาการเรื่องการสร้างเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ (Cooperative research network in nursing)โดยเชิญวิทยากรจากต่างประเทศ (Dr. Ada Sue Hinshaw) ผลลัพธ์ :1. แนวทางความร่วมมือในการดำเนินการ วิจัยระหว่างสถาบันและบุคคล2. ทิศทางการวิจัยและการสร้างเครือข่าย กับต่างประเทศ ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)

  6. สิงหาคม 2545 -ตุลาคม 2545 แต่งตั้งคณะทำงาน “คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล” คณะทำงานมาจากผู้แทนสถาบันการศึกษาของ ทค.พย. กำหนดวาระ 2 ปี ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)

  7. หน้าที่คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาลหน้าที่คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล • จัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นของของนักวิจัยทางการพยาบาลและ website ของเครือข่าย • พัฒนาคำถามวิจัยตามแกน theme ที่กำหนด • ประสานงานกับสถาบันการศึกษาพยาบาลที่จัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อกำหนดโครงการวิจัยนักศึกษาบัณฑิตศึกษา • จัดประชุมกลุ่มแกนวิจัยแต่ละสาขา เพื่อจัดทำโครงการขอทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนวิจัย • รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานต่อที่ประชุมคณบดีปีละ 1 ครั้ง

  8. กลุ่มแกนการวิจัย 1 กลุ่มแกนการวิจัย 2 กลุ่มแกนการวิจัย 3 กลุ่มแกนการวิจัย 4 กลุ่มแกนการวิจัย 5 กลุ่มแกนการวิจัย 6 กลุ่มแกนการวิจัย 7 กลุ่มแกนการวิจัย 8 โครงสร้างการบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล ที่ประชุมคณบดีฯ คณะกรรมการเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล

  9. จัดทำ website ของเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล Http://thainurse.nures.cnu.ac.th

  10. การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาลการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล • พัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล 8 กลุ่ม • ประธานกลุ่ม / ผู้รับผิดชอบ มาจากสถาบันที่เปิดสอนระดับปริญญาเอก • ให้หน่วยงานต้นสังกัดสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินทาง • ทค.พย. สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมของกลุ่มต่าง ๆ • หัวหน้ากลุ่มเชิญประชุมเอง

  11. การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล (ต่อ) • เครือข่ายวิจัยแต่ละกลุ่มนัดประชุมจัดทำ Concept paper • วางแผนการดำเนินงานของแต่ละกลุ่ม • จัดทำชุดโครงการ

  12. 12 มกราคม 2546 ประชุมกรรมการเครือข่ายอและประธานคณะทำงานกลุ่มต่าง ๆ การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล (ต่อ) • ประชุมสัมนาวิพากษ์ชุดโครงการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ วิพากษ์โดยคุณนที เนียมสีจันทร์ คุณจงหทัย อมรวัฒนกุล • ประชุมกลุ่มพัฒนาชุดโครงการวิจัยและกำหนดแผนการดำเนินงาน • 7-8 กุมภาพันธ์ 2546

  13. ได้กรอบวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ 8 ด้าน (ทค.พย. เห็นชอบ 3 มีนาคม 2546) • ชุดโครงการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ชุดโครงการวิจัยด้านสุขภาพเด็กและครอบครัว • ชุดโครงการวิจัยด้านสุขภาพสตรี • ชุดโครงการวิจัยด้านวัยสูงอายุ • ชุดโครงการวิจัยผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยวิกฤติและฉุกเฉิน • ชุดโครงการวิจัยด้านสุขภาพ • ชุดโครงการวิจัยสุขภาพจิตและผู้ป่วยจิตเวช • ชุดโครงการวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการบำบัดทางการพยาบาล

  14. ส่งกรอบวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ให้ทบวงฯ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาจัดสรรทุน • ศึกษาต่อใน / ต่างประเทศ • ทุนกิจกรรมวิชาการ - เชิญผู้เชี่ยวชาญ / ศึกษาดูงาน / เสนอผลการวิจัย

  15. เผยแพร่กรอบการวิจัยสาขาการพยาบาลศาสตร์ให้ทุกสถาบันการศึกษาพยาบาลและคณาจารย์ทราบเผยแพร่กรอบการวิจัยสาขาการพยาบาลศาสตร์ให้ทุกสถาบันการศึกษาพยาบาลและคณาจารย์ทราบ

  16. คณะทำงานรับผิดชอบเขียนโครงการวิจัยในคณะทำงานรับผิดชอบเขียนโครงการวิจัยใน แต่ละชุด เพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนและพัฒนาชุดโครงการวิจัยอื่น ๆ ในกลุ่มต่อไป

  17. 13 มิถุนายน2546 ประธาน / ผู้แทนกลุ่มวิจัย รายงานความก้าว หน้าของกลุ่มวิจัยให้ ทค.พย. ทราบ

  18. การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการการจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ • เชิญผู้อำนวยการส่วนฝึกอบรมพัฒนาข้าราชการ ทบวงมหาวิทยาลัยให้ข้อมูลและชี้แจงแนวปฏิบัติแก่ ทค.พย. (6 กุมภาพันธ์ 46) • การจัดสรรทุน 1. ศึกษาศักยภาพในการผลิตของทุกสถาบัน (65 ทุน) 2. ศึกษาความต้องการของทุกสถาบัน (ต้องการรวม 60 ทุน)

  19. การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ (ต่อ) • ทค.พย. กำหนดแนวทางจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์ปีงบประมาณ 2546 1. จำนวนอาจารย์ทั้งหมดของสถาบัน 2. จำนวนอาจารย์ผู้สำเร็จการศึกษาและผู้กำลังศึกษาระดับปริญญา เอกทุกประเภททุน 3. รายชื่อผู้เกษียณอายุราชการในรอบ 5 ปี (2546-2550)

  20. การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ (ต่อ) • เกณฑ์การจัดสรรทุนศึกษาต่อในประเทศ (60 ทุน) 1. กลุ่มที่มีความสำคัญลำดับ 1 ทุกสถาบัน สถาบันละ 3 ทุน ยกเว้น สถาบันที่มีผู้สอบได้ไม่ถึง 3 คนให้ตามจำนวนผู้ที่สอบได้ รวม 32 คน 2. ทุนที่เหลือ (28 ทุน) เรียงลำดับความสำคัญตามอัตราส่วนอาจารย์ที่มี อยู่ในระดับปริญญาเอกต่ออาจารย์ทั้งหมด

  21. การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ (ต่อ) • การจัดสรรทุนศึกษาต่อต่างประเทศ 1. จัดสรรให้สถาบันที่ไม่ได้รับการจัดสรรในปีที่ผ่านมา (2545) และมี ใบตอบรับแล้ว

  22. ทุนกิจกรรมวิชาการ • ให้ทุกสถาบันหลักที่รับผิดชอบกลุ่มวิจัยเสนอเชิญผู้เชี่ยวชาญเพื่อช่วยพัฒนางานวิจัยตามกรอบการวิจัย และ ทค.พย.จัดลำดับความสำคัญ • ใช้ประโยชน์ร่วมกัน (ได้รับการสนับสนุน 3/ 5 โครงการ)

  23. ทุนวิจัยต่างประเทศ • พิจารณาให้ทุนแก่สถาบันที่ไม่ได้รับการจัดสรรในปี 2546 จำนวน 2 สถาบัน (ไม่ได้รับการสนับสนุน)

  24. ทุนฝึกอบรม / ดูงาน / เสนอผลงานวิชาการ • จัดสรรให้สถาบันที่ไม่ได้รับการจัดสรรทุนในปี 2545 จำนวน 6 สถาบัน (ได้รับการสนับสนุน 1 โครงการ)

  25. สรุปการดำเนินงานCRNN • ที่ประชุมคณบดีเป็นแกนกลางในการประสานงานและบริหารจัดการ • แต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายวิจัยและคณะทำงานเครือข่ายกลุ่มต่าง ๆ • จัดประชุมให้แนวทางการทำงานเครือข่ายวิจัย • จัดประชุมกำหนดกรอบการวิจัยร่วมกัน • จัดประชุมวิพากษ์โครงการวิจัย

  26. สรุปการดำเนินงานCRNN (ต่อ) • คณะทำงาน / กลุ่มวิจัย ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติงานของกลุ่มและพัฒนาชุดโครงการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนจากแหล่งทุน • จัดประชุมวิชาการเพิ่มศักยภาพนักวิจัย • ทค.พย. ประสานงานกับ สกอ. ในการดำเนินงานตามโครงการ • ทค.พย. สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม • สถาบันต้นสังกัดสนับสนุนเวลา ค่าเดินทาง และค่าที่พักของคณะทำงาน • คณะทำงานเสนอความก้าวหน้าให้ ทค.พย. ทราบทุก 6 เดือน

  27. CRNN วันนี้ • คณะทำงานกลุ่มต่าง ๆ อยู่ระหว่างการปรับโครงการวิจัยย่อย ๆ ภายหลัง การวิพากย์ ในวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2546 • บางกลุ่มจัดทำโครงร่างวิจัยบางโครงการเสร็จแล้วและส่งขอทุนจากแหล่งต่าง ๆ • บางกลุ่มจัดทำ web page เพื่อให้ข้อมูลเฉพาะในเนื้อหาสาระของกลุ่มและแขวนกับ webของ CRNN

  28. CRNN วันนี้ (ต่อ) • การเชิญผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนกำลังดำเนินการเป็นลำดับ • คณะทำงานกลุ่มต่าง ๆ ยังคงประสานงานเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัยและทำวิจัย • เสนอความก้าวหน้าให้ที่ประชุม ทค.พย. รับทราบทุก 6 เดือน

  29. ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการ CRNN • ความไม่ชัดเจนของเป้าหมายโครงการในระยะเริ่มต้น • ไม่มีงบประมาณสนับสนุนการจัดทำโครงการ • อาจารย์มีภาระงานมากไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้ • การพิจารณาทุนสนับสนุนงานวิจัยต่างประเทศ ผู้ขอรับทุนไม่ทราบเหตุผลชัดเจนในการไม่ได้รับการสนับสนุน

  30. ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการ CRNN(ต่อ) 5. การพิจารณาทุนกิจกรรมวิชาการทราบผลใกล้ปลายปีงบประมาณ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ภายในปีงบประมาณ 6. การสิ้นสุดโครงการ / คณะทำงาน ยังมีความไม่ชัดเจน

  31. ขอบคุณ

More Related