1 / 47

การบริหารระบบวิจัย(บริการวิชาการ บริการชุมชนและ สังคม) แนวคิดและประสพการณ์ กฤษณพงศ์ กีรติกร

การบริหารระบบวิจัย(บริการวิชาการ บริการชุมชนและ สังคม) แนวคิดและประสพการณ์ กฤษณพงศ์ กีรติกร. โครงการพัฒนาศักยภาพ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยระดับสูง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 31 สิงหาคม 2554. การบริหารระบบ วิจัย (บริการวิชาการ บริการชุมชนและสังคม) แนวคิด และ ประสพการณ์

celina
Télécharger la présentation

การบริหารระบบวิจัย(บริการวิชาการ บริการชุมชนและ สังคม) แนวคิดและประสพการณ์ กฤษณพงศ์ กีรติกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารระบบวิจัย(บริการวิชาการ บริการชุมชนและสังคม) แนวคิดและประสพการณ์ กฤษณพงศ์ กีรติกร โครงการพัฒนาศักยภาพ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยระดับสูง มหาวิทยาลัยขอนแก่น 31 สิงหาคม 2554

  2. การบริหารระบบวิจัย (บริการวิชาการ บริการชุมชนและสังคม) แนวคิดและประสพการณ์ • Knowledge generation, Knowledge applications, Knowledge translation/transformation • พัฒนาการสามช่วง (หลักการพื้นฐาน กลไก Milestone) • 2514 -2529 หนึ่งสถาบันอุดมศึกษา สามวิทยาเขต • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี • 2529- 2541 สามสถาบันอุดมศึกษาอิสระ • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • 2541 ปัจจุบัน หลังการเปลี่ยนสภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี • ผลผลิต ผลลัพธ์

  3. 2550 2540 ระเบียบรับงานการค้าร่วมกันของสจ. (ทดสอบ ที่ปรึกษา ฝึกอบรม ฯ) 2530 สามสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, ธนบุรี, ลาดกระบัง (2529) 2520 หนึงสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต 2510

  4. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่หนึ่ง 2514 - ปลายทศวรรษ 2520 (หนึ่งพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต) • การให้คุณค่าแก่การทำงานบริการวิชาการ งานวิจัย • การสร้างเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษากับธุรกิจอุตสาหกรรม สร้างประสพการณ์ในโลกจริงของอาจารย์ • การสร้างกลไกการเพิ่มรายได้ให้อาจารย์และบุคคลากร ภาควิชา/คณะ และมหาวิทยาลัย • ความหวังที่จะให้อาจารย์สร้างผลงานวิชาการจากการทำงานในภาคการผลิตจริง -real production sector เพื่อการขอตำแหน่งวิชาการ (industrial chair vs academic chair) • การออกระเบียบรองรับการทำงานภายนอก(งานการค้า) เพื่อลดการทำงานนอกระบบ (moon lighting)

  5. ทศวรรษ 2520 บัณฑิตศึกษาและวิจัยสหวิทยาการ (วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์) ด้านพลังงาน วัสดุ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีชีวภาพ 2550 • ทศวรรษ 2520 โครงการวิจัยสหวิทยาการขนาดใหญ่(วิศวกรรมศาสตร์หลายแขนง) • พลังงานในชนบท • การผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ผ่านกระบวนการความร้อน • การผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันลมแกนตั้ง 2540 University-Industry Liaison Office-CORD ระเบียบรับงานการค้า (ทดสอบ ที่ปรึกษา ฝึกอบรม ฯ) ร่วมกันของสจ. 2530 สามสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พระนครเหนือ, ธนบุรี,ลาดกระบัง(2529) การพัฒนาความเป็นอยู่และอาชีพในชนบท (การศึกษา วิจัย บริการ) บูรณาการความรู้วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ(เกษตรศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี) สังคมศาสตร์ ผ่านโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูป 2520 ทศวรรษ 2520 การวิจัยสหวิทยาการ Biochemical engineering and Pilot Plants ที่อาศัยวิทยาศาตร์ชีวภาพและวิศวกรรมศาสตร์ 2510 หนึ่งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต

  6. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่หนึ่ง 2514 - ปลายทศวรรษ 2520 (หนึ่งพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต) • เกิดคณะพลังงานและวัสดุ หลักสูตรและการวิจัยสหวิทยาการ(2520 -เทคโนโลยีพลังงาน,2525/6 วัสดุ, สิ่งแวดล้อม, เทคโนโลยีชีวภาพ) • งานวิจัยสหวิทยาการ/พหุวิทยาการขนาดใหญ่ ต้องใช้ความรู้วิทยา - ศาสตร์ควบคู่กับวิศวกรรมศาสตร์ในคณะพลังงานและวัสดุ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์สนับสนุน(วิศวกรรมเครื่องกล ไฟฟ้า เคมี อุตสาหการ วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ จุลชีววิทยา เคมี) • จุดเริ่มต้นที่วิทยาศาสตร์พบวิศวกรรมศาสตร์ • มีความร่วมมือโดยธรรมชาติของนักวิชาการและลักษณะความรู้ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย (อ.ไพบูลย์ หังสพฤกษ์) และคณะสนับสนุน • เป็น demand driven multidisciplinary academic program and research ที่นักวิชาการเห็นว่าถ้าไม่ร่วมมือข้ามศาสตร์ ทำวิจัยไม่ได้ • ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ อ.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ อ.หริส สูตะบุตร

  7. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่หนึ่ง 2514-ปลายทศวรรษ 2520 (หนึ่งพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต) • งานวิจัยสหวิทยาการขนาดใหญ่ (5-15 ปี) ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ • อ.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ • โครงการพลังงานในชนบท สำนักงานพลังงานแห่งชาติ - USAID (กลางทศวรรษ 2520) : พพ. กรมป่าไม้ กรมอุตุนิยมวิทยา พระจอมเกล้าธนบุรี ม.เชียงใหม่ • ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ผ่านกระบวนการความร้อน • Solar Thermal Electric Power System – STEP • กฟผ.-มจธ. (กลางทศวรรษ 2520) • ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันลมแกนตั้ง • Vertical Axis Wind Electric Power System - WEPS • กฟผ. – มจธ. (กลาง ทศวรรษ 2520) • โครงการวิจัยพลังงานอาเซียน(พพ. มช. มอ. มจพ. มจธ. มน.)

  8. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่หนึ่ง 2514- ปลายทศวรรษ 2520 (หนึ่งพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต) • การสนับสนุนวิชาการโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูป (ฝาง-เชียงใหม่ แม่จัน - เชียงราย เต่างอย-สกลนคร ละหานทราย-บุรีรัมย์ • ม.เกษตรศาสตร์(ศ.อมร ภูมิรัตน) เริ่มงานภาคเหนือทศวรรษ 2510 • การพัฒนาความเป็นอยู่พื้นฐาน สุขภาพอนามัย โภชนาการสุขาภิบาล ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน และวัด • การพัฒนาอาชีพในชนบท ระบบเกษตรอุตสาหกรรม เกษตรพันธะสัญญา อุตสาหกรรมอาหารในชนบท • ความร่วมมือหลากสาขาด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี(การแปรรูปอาหาร เคมี เครื่องกล ไฟฟ้า อุตสาหการ พลังงาน สิ่งแวดล้อม) เกษตรศาสตร์ (วิชาการเกษษตรและการส่งเสริม ระบบเกษตรพันธะสัญญา การสร้างกลุ่มเกษตรกร) การพัฒนาชนบท • ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ อ.ศักรินทร์ ภูมิรัตน, อ.ไพบูลย์ หังสพฤกษ์ อ.หริส สูตะบุตร

  9. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่หนึ่ง 2514 - ปลายทศวรรษ 2520 (หนึ่งพระจอมเกล้า สามวิทยาเขต) • การตั้งศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและพัฒนา (Center for Research and • Operation –CORD) เป็น University-Industry Liaison Office แห่งแรกๆของมหาวิทยาลัยไทย • ปลายทศวรรษ การเกิดงานวิจัยที่ใช้ต้องความรู้วิทยาศาสตร์ชีวภาพควบคู่กับวิศวกรรมศาสตร์ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ – biochemical engineering, pilot plants engineering, food engineering, waste management and utilization • - Process engineering (วิศวกรรมเคมี) • - Manufacturing engineering (วิศวกรรมเครื่องกล อุตสาหการ) • - Electrical, electronics,control and instrumentation(กลุ่มไฟฟ้า) • - Microbiology • - Biotechnology • ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ อ.หริส สูตะบุตร, อ.ศักรินทร์ ภูมิรัตน • อ.มรกต ตันติเจริญ, อ.โสฬส สุวรรณยืน

  10. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่สอง ทศวรรษ 2530 -ต้นทศวรรษ 2540 (พระจอมเกล้าธนบุรี) • การออกระเบียบรองรับการวิจัยและงานการค้า และพัฒนาต่อเนื่อง • การเติบโตทางรายได้จากการวิจัยและบริการ • การเติบโต (ตามธรรมชาติ ด้วยกลไกส่งเสริมงานวิจัยบริการ) ของ • : กลุ่มวิจัย บริการวิชาการ/สังคม ขนาดใหญ่ (ทำร่วมกับการศึกษา) • : กลุ่ม single discipline, interdisciplinary, multidisciplinary • : กลุ่ม เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์วิทยาศาสตร์-วิศวกรรมศาสตร์ • เทคโนโลยี- การเกษตร-การพัฒนาชนบท • การเติบโตของคลัสเตอร์ Biochemical Engineering and Pilots Plants • ไปเป็น สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ สวนอุตสาหกรรม มจธ.วิทยาเขตบางขุนเทียน คลัสเตอร์บางขุนเทียน

  11. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ช่วงที่สอง ทศวรรษ 2530 -ต้นทศวรรษ 2540 (พระจอมเกล้าธนบุรี) • แนวคิดของทบวงมหาวิทยาลัยเรื่องการสร้างผู้ประกอบการ • เทคโนโลยี (Technological entrepreneurs) และ Industrial Park จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - จามจุรีสแควร์, • มจธ.- บางขุนเทียน/Bio-based research and industries/Biopolis, มทส.- เทคโนธานี • ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและพัฒนา- CORD(คณะวิศวกรรมศาสตร์)เปลี่ยน • เป็นสำนักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัย • การเกิด • คลัสเตอร์เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้และชนบท (โครงการ • มหาวิทยาลัยกับสังคมและชุมชน) • คลัสเตอร์ Engineering, Energy and Environment for Agricultural Systems (3E for A)

  12. สร้างกลไกส่งเสริมงานวิจัยพัฒนาสร้างกลไกส่งเสริมงานวิจัยพัฒนา • เพิ่มเติมต่อเนื่อง • ทุนวิจัยพระจอมเกล้าธนบุรี • รางวัลบทความวิชาการ • ค่าใช้จ่ายการเสนอผลงงาน • Intellectual Properties 2550 • ปรับและเพิ่มกลไกใหม่ • สำหรับงานวิจัยและ • งานสหวิทยาการ • FTERO • อัตรานักวิจัย • ตำแหน่งวิชาการนักวิจัย • ครุภัณฑ์วิจัย • เงินยืมเงินให้เปล่า 2540 ระเบียบรับงานวิจัย สวท. University-Industry Liaison Office-CORD มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี 2530 ระเบียบรับงานการค้า (ทดสอบ ที่ปรึกษา ฝึกอบรม ฯ) สามสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (2529) ปรับปรุงระเบียบรับงานวิจัย หลายครั้ง 2520 ปรับปรุงระเบียบรับงานการค้า หลายครั้ง สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้า พระจอมเกล้าธนบุรี ออกกระเบียบเอง 2510

  13. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านบริหารเงินและการมีรายได้ 1. ตั้งแต่ทศวรรษ 2520ก่อนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ (และมีการปรับปรุงต่อเนื่อง)มจธ.มีระเบียบรองรับงานวิจัยและบริการ 2 ระเบียบหลัก สาระสำคัญคือ : หัวหน้าโครงการสามารถ บริหารการเงิน บริหารบุคลากรในโครงการเอง ไม่ขึ้นกับผู้บริหารหน่วยงานย่อย(หัวหน้าภาควิชา คณบดี) โดยทำประกาศการบริหารโครงการตามระเบียบที่รองรับ ให้อธิการบดีลงนามประกาศประกาศโครงการ กองคลังตรวจบัญชีโครงการ : มจธ.ถือว่าโครงการทั้งหมดเป็นโครงการมหาวิทยาลัย ผู้ทำสามารถใช้ทรัพยากร(เวลา คน อุปกรณ์)ของมหาวิทยาลัยได้ :กำหนดเกณฑ์การคิดราคาโครงการ ต้นทุนทางตรงและทางอ้อม การแบ่งรายได้ระดับต่างๆ(ผู้ทำ หน่วยงานระดับภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย)

  14. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านบริหารเงินและการมีรายได้ 2. ด้านการบริหาร ผู้ทำโครงการสามารถบริหารเอง ทำผ่านภาควิชา คณะ สรบ. สวท. ตามสมัครใจ แต่ใช้ระเบียบเดียวกันทั้งหมด 3. มหาวิทยาลัยให้เงินลักษณะต่างๆ (หลังเป็นม.ในกำกับ 2540 +) เงินให้เปล่า เป็น matching fund หรือ seed money เงินยืม 3-5 ปี

  15. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุน บุคคลให้ทำงานวิจัยและบริการ กลไกส่วนใหญ่เกิดในทศวรรษ 2530 ก่อนเป็นม.ในกำกับ 1.ทุนวิจัยพระจอมเกล้าธนบุรีสำหรับนักวิชาการใหม่(100,000 บาท ต่อปี เวลา 2 ปี) 2. เงินสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานในการประชุมวิชาการ (ใช้งบประมาณโครงการ ภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย) 3. เงินรางวัลการพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการ -refereed journal (งบประมาณภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย) 4.การจดสิทธิบัตร มจธ.มีศูนย์ส่งเสริมงานวิจัยและทรัพย์สินทางปัญญา ช่วยการขอจดสิทธิบัตร มหาวิทยาลัยออกค่าธรรมเนียมในการจดและป้องกัน

  16. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุน บุคคลให้ทำงานวิจัยและบริการ 5.มจธ.สนับสนุนการเจรจาเรื่องสิทธิประโยชน์ และการขายเทคโนโลยี(Technology licensing) ผ่านสวท. และ สรบ. 6.มจธ.มีคณะทำงานส่งเสริมการสร้างนักวิจัยให้มีชื่อเสียง ระดับชาติ และนานาชาติ

  17. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านการบริหารบุคคลากร 1.อาจารย์ทุกคนต้องมีภาระงานสามส่วนคือ สอน วิจัย การทำงาน เพื่อส่วนรวม ภาระงานนี้ใช้ในการดำรงตำแหน่ง การประเมินเงินเดือน และ การต่อสัญญา การให้รางวัลประจำปี(2541) 2.อาจารย์ ผศ. รศ. และศ. มีภาระงานต่างกัน การเลื่อนเงินเดือนภายในกล่องเงินเดือน ใช้ผลงานที่ต่างกัน(2548) 3.อาจารย์และนักวิจัยอยู่สายงานวิชาการเดียวกัน นักวิจัยมี ตำแหน่งวิชาการ– research track (2548) 4.กลุ่มอาจารย์และนักวิชาการสามารถขอตำแหน่งนักวิจัยของ กลุ่มวิจัยและบริการได้ ไม่ขึ้นกับโครงสร้างและภาระงานการเรียนการ สอนของหน่วยงาน มหาวิทยาลัยประเมินผลงานกลุ่มทุก 3 ปี (2546) 5. การพัฒนาอาจารย์และนักวิชาการใหม่โดยระบบพี่เลี้ยง

  18. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านแรงจูงใจหน่วยงานและการ สร้างความเข้มแข็ง 1.การจัดสรรงบประมาณเพิ่มตามหลัก Full Time Equivalent Research Output – FTERO (2547) (งบประมาณปรกติ จัดตามงานที่จะทำ ไม่จัดตามผลงาน FTERO จัดให้ตามผลงานที่ปรากฏ) บัณฑิตปริญญาโท (ทำโปรเจ้ค วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยและสูงกว่า ปรัชญามหาบัณฑิต ทักษะวิศวกรรม ทักษะวิทยาศาสตร์) บัณฑิตปริญญาเอก บทความการประชุมวิชาการ(national, regional,international) บทความวารสารวิชาการ(national, refereed) สิทธิบัตร รายได้สุทธิจากโครงการวิจัยและบริการที่เข้ามหาวิทยาลัย

  19. กลไกการส่งเสริมงานวิจัยและบริการ ด้านแรงจูงใจหน่วยงานและการ สร้างความเข้มแข็ง 2. งบประมาณยุทธศาสตร์ (2546) กลุ่มอาจารย์และนักวิชาการ ภาควิชา คณะ สามารถขอได้ 3.กลุ่มอาจารย์และนักวิชาการสามารถขอตำแหน่งนักวิจัยของกลุ่มวิจัยและบริการได้(2546) ไม่ขึ้นกับโครงสร้าง หรือภาระงานการเรียนการสอนหน่วยงาน 4.กลุ่มอาจารย์และนักวิชาการสามารถขอครุภัณฑ์วิจัยราคาสูง เป็นครุภัณฑ์กลางของมหาวิทยาลัย(2546) ให้กลุ่มวิจัยบริหารมหาวิทยาลัยสนับสนุนงบประมาณและบุคคลากรในการดูแล

  20. มาตรการก่อนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับมาตรการก่อนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ ทุนการเสนอผลงานวิชาการ ทุนสนับสนุนการตีพิมพ์บทความ มาตรการหลังเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ ทุนวิจัยพระจอมเกล้าธนบุรี รางวัลการตีพิมพ์บทความ นักวิจัยมีอำนาจและทางเลือก การบริหารโครงการ โครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนบุคคล โครงการอนุมัติโดย มหาวิทยาลัย ระเบียบบริหารงานวิจัยและบริการ การจดและป้องกันสิทธิบัตร การมีรายได้และ การแบ่งผลประโยชน์ระดับต่างๆ การส่งเสริม ให้มีชื่อเสียง การเจรจาทรัพย์สินทางปัญญา เงินให้เปล่า บทความเสนอ การประชุมวิชาการ บัณฑิตที่จบ ระดับปริญญาโทและเอก การเงิน การวิจัยและบริการ การวิจัยและบริการ เงินยืม บทความตีพิมพ์ ในวารสาร ระบบพี่เลี้ยง FTERO ภาระงานอาจารย์ Joint appointment สิทธิบัตร แรงจูงใจหน่วยงานและ การสร้างความเข้มแข็ง การบริหารบุคคล งบยุทธศาสตร์ รายได้สุทธิเข้ามจธ. ตำแหน่งวิชาการนักวิจัย การขออัตรานักวิจัย โดยอาจารย์ Career path ของนักวิจัย การขออัตรานักวิจัย โดยอาจารย์ การขอครุภัณฑ์วิจัย โดยกลุ่มวิจัย

  21. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี จากคลัสเตอร์ Biochemical Engineering and Pilots Plants ไปเป็นคลัสเตอร์บางขุนเทียน บริหารโครงการวิจัย(งปม.แผ่นดินและเงินรายได้) ใช้ทรัพยากรร่วมกัน(ระบบกงสี) ตามความสมัครใจของหน่วยงานและโครงการ กำกับดูแลโดยอาจารย์อาวุโสใกล้ชิด มีการประเมินต่อเนื่อง มีแผนงานที่เน้นผลสัมฤทธิ์และเอาท์พุท แผนมีพลวัตรสูง (ตั้ง KPI เอง ก่อนยุค KPI) เน้นการหารายได้จากการทำงานวิชาการทุกรูปแบบ เน้นให้เห็นว่าอาจารย์มีรายได้เพิ่มจากการทำงานวิชาการ(มากกว่าสอนซ้ำ และสอนพิเศษ) เน้นให้เห็นว่าถ้าใช้ทรัพยากรร่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่ จะทำงานได้ต่อเนื่องมั่นคงกว่าทำคนเดียว หรือทำกลุ่มเล็ก จากการวิจัยสู่ การเรียนการสอน การวิจัยและบริการอุตสาหกรรมและสังคม incubators แล้บของศูนย์แห่งชาติ สวนอุตสาหกรรม

  22. จากคลัสเตอร์ Biochemical Engineering and Pilots Plantsเป็นคลัสเตอร์บางขุนเทียน ปลายทศวรรษ 2520 เริ่มจากโครงการวิจัยด้านbiotechnology, biogas/food waste ของภาควิชาวิศวกรรมเคมี สายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ต้นทศวรรษ 2550 คลัสเตอร์ประกอบด้วย - สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ (Pilot Plant Development and Training Institute - PDTI) - สวนอุตสาหกรรมมจธ. (Industrial Park Center - IPC) - คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี (School of Bioresources and Technology - SBT) - BIOTEC - Biochemical Engineering and Pilot Plant Research and Development Unit (BEC) - BIOTEC- EcoWaste Unit - กิจกรรมบางส่วนของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  23. การบริหารคลัสเตอร์ ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี คลัสเตอร์บางขุนเทียน 2553/2554 บุคคลากร จำนวน 290 คน สายวิชาการ 160 สายสนับสนุน 130 คน ( FTE 253.5)ป.เอก 76 ป.โท 95 ป.ตรี 104 อื่นๆ15 นักศึกษา (275) เอก 78 โท 181 ตรี 15 รายได้จากการวิจัยและบริการ (ช่วงห้าปีที่ผ่านมา) 120-150 ล้านต่อปี คิดเป็น 20 - 30 % ของรายได้วิจัยและบริการของมหาวิทยาลัย

  24. การบริหารคลัสเตอร์ ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี ช่วงที่สาม ทศวรรษ 2550 สร้างคลัสเตอร์ใหม่เพื่อกำหนดทิศการพัฒนาวิชาการ Bio Science and Bio Engineering (Brain and cognitive science) Earth System Science (Atmosphere, Lithosphere, Hydrosphere, Biosphere) Materials Sciences and Engineering Indoor Air Quality and Building Energy Policy Research ใช้กลไกส่งเสริมปรกติ แต่ฝ่ายบริหารให้ความสำคัญสูงในการจัดทรัพยากร (ตำแหน่ง ครุภัณฑ์ ทุนน.ศ. งปม.ดำเนินการ) มีผู้บริหารระดับรองอธิการบดีดูแล สภามหาวิทยาลัยให้อาจารย์อาวุโสเป็นที่ปรึกษาคลัสเตอร์ กลไกใหม่ในการทำงานสหวิทยาการ/ข้ามหน่วยงานคือjoint appointment (ภาระงาน/การจ่ายค่าตอบแทน/การประเมิน) คลัสเตอร์ใหม่มี นักวิชาการ96 คน น.ศ. ป.โท 24 เอก 46

  25. คลัสเตอร์สหวิทยาการรุ่นใหม่คลัสเตอร์สหวิทยาการรุ่นใหม่ Bio Science Bio Engineering, Earth System Science, Material Science & Eng.,Indoor Air Quality & Building Energy, Policy Study บัณฑิตศึกษาและวิจัยสหวิทยาการ (วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์) 2550 โครงการวิจัยสหวิทยาการขนาดใหญ่ คลัสเตอร์บางขุนเทียน 2540 โครงการ/คลัสเตอร์ มหาวิทยาลัย กับสังคมและชุมชน ระเบียบรับงานวิจัย University-Industry Liaison Office-CORD 2530 ระเบียบรับงานการค้า (ทดสอบ ที่ปรึกษา ฝึกอบรม ฯ) การวิจัยสหวิทยาการ- Biochemical Eng. ที่อาศัยวิทยาศาตร์ชีวภาพและวิศวกรรมศาสตร์ 2520 การพัฒนาความเป็นอยู่และอาชีพในชนบท (เกษตรศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์) 2510

  26. การบริหารระบบวิจัย ประสพการณ์พระจอมเกล้าธนบุรี • ให้คุณค่างานวิจัย บริการวิชาการและสังคม กำหนดเป็นหน้าที่(ภาระงาน) • สร้างเครือข่ายมหาวิทยาลัยกับสังคม/ธุรกิจอุตสาหกรรม สร้างประสบ-การณ์ในโลกจริงของอาจารย์ • สร้างกลไกการเพิ่มรายได้ให้อาจารย์และบุคคลากร ภาควิชา/คณะ และมหาวิทยาลัย • หวังให้อาจารย์สร้างผลงานวิชาการจากงานในภาคการผลิตและสังคมจริง (real social/economic sector) ในการขอตำแหน่งวิชาการ • สร้างระเบียบรองรับการวิจัยและทำงานภายนอก ปรับปรุงต่อเนื่อง • ใช้ระเบียบและการจัดงบประมาณเป็นกลไกส่งเสริมการวิจัย/คลัสเตอร์ • เกิดกลุ่มวิจัย/คลัสเตอร์ธรรมชาติโดยนักวิชาการ หลากมิติวิชาการ(สหวิทยาการ พหุวิทยาการ) และภาระกิจผสม(ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการ) • อาจารย์อาวุโสและผู้บริหาร เป็นตัวอย่างที่สอนหนังสือ วิจัย บริการสังคม • อาจารย์อาวุโสและผู้บริหารขับดันระบบวิจัยและบริการ

  27. Knowledge generation, Knowledge applications, Knowledge translation/transformation

  28. การบริหารระบบวิจัย(บริการวิชาการ บริการชุมชนและสังคม) ระบบค่านิยม วัฒนธรรม และวิญญาน องค์กร ระบบและโครงสร้างองค์กร ระบบวิจัย นักวิจัย

  29. Solar – Assisted Tobacco Curing System

  30. สภาพชนบทอิสานเหนือและใต้ทศวรรรษ 2520 หลังสงครามแย่งประชาชนยุติ

  31. ระบบเกษตรอุตสาหกรรม-ข้าวโพดฝักอ่อนระบบเกษตรอุตสาหกรรม-ข้าวโพดฝักอ่อน

  32. ระบบเกษตรอุตสาหกรรม - มะเขือเทศ

  33. ผักและผลไม้แปรรูป – ผลิตภัณฑ์กระป๋อง น้ำผลไม้ อบแห้ง

  34. คลัสเตอร์วิจัยและบริการบางขุนเทียน (Bangkhuntian R&D Cluster)

  35. ResearchFocus 15-20 ห้องปฏิบัติการณ์ Algal Biotechnology Mass cultivation, High value product development Sensor Technology Glucose/Sucrose sensors BOD, DNA modified sensors Systems Biology & Bioinformatics Spirulina systems biotechnology Genome, biol. of microbes, lipid syn. Medical systems biology กลไกบ่มเพาะอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ High Performance Equipment, Laboratories & Offices Services Consultation, Equipment and Process Design & Engineering Analytical & Measurement Services Incubation Programs/ Services Bioprocess Development Fermentation Technology, Solid State Fermentation, Bioprocess modeling, Animal Cell Culture Fungal Biotechnology Food Technology & Engineering Retort, Aseptic processing, Engineering Properties of Food Waste Utilization & Management (EcoWaste) Anaerobic waste water treatment Bioreactor modeling design Waste auditing/ Clean Technology Clean Energy System / Combustion Technology Alternative Energy Pilot Plant R&D Services • - GMP Pilot Plant for: • > Food • > Therapeutic proteins • Microbial production service for • > animal feeds

  36. Technology Development Technology: Fermentation Equipment & Pilot Plant ขนาด 1 ลิตร ขนาด 50 ลิตร ขนาด 150 ลิตร ขนาด 1,500 ลิตร

  37. Technology Development Technology: Solid State Fermentation 5,000 ลิตร 200ลิตร 600 ลิตร

More Related