1 / 44

การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ -

การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ -. โดย นายคาโอรุ อิโนอุเอะ ผู้แทนบริษัท เอ ไอซี สำนักงาน กรุงเทพฯ. แนะนำตัว. อาชีพ : มีนาคม 2550 - ผู้แทนบริษัท AIC สำนักงานกรุงเทพฯ พฤศจิกายน 2547 - มีนาคม 2550 ผู้ซื้อสินค้านำเข้า (buyer)

chanel
Télécharger la présentation

การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ -

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งออกสู่ญี่ปุ่น-ความสำคัญของเวลาและคุณภาพ - โดย นายคาโอรุ อิโนอุเอะ ผู้แทนบริษัท เอ ไอซี สำนักงาน กรุงเทพฯ

  2. แนะนำตัว อาชีพ: • มีนาคม 2550 - ผู้แทนบริษัท AIC สำนักงานกรุงเทพฯ • พฤศจิกายน 2547- มีนาคม 2550 ผู้ซื้อสินค้านำเข้า (buyer) บริษัท AIC จำกัด ประสบการณ์ - ระบบคุณภาพ HACCP/SQF 2000/EU Gap training course Certification -Vegetable & Fruits Meister certification ความรับผิดชอบ ชำนาญด้านการตลาดและการกระจายสินค้า

  3. หัวข้อ • ตอนที่ 1 : ญี่ปุ่นและการกระจายสินค้า • ตอนที่ 2 : ผลไม้นำเข้า • ตอนที่ 3: ปัจจัยสู่ความสำเร็จ - ความพอใจของลูกค้า - • ตอนที่ 4- มุมมองของผู้ซื้อ

  4. ตอนที่ 1 ที่ตั้งและระยะทางสู่ญี่ปุ่น • ระยะทาง 2,868 ไมล์ • ทางเรือ 7 ถึง10 วัน • ทางอากาศ : 6 ถึง 7 ชั่วโมง • เวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง

  5. ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

  6. ตอนที่ 1 Age 14-64 Age over 65 Age under 14 Age 0-14 Age 15-64 Age over 65 สถิติที่สำคัญ① (1) อัตราการเพิ่มของผู้สูงอายุและการลดการเกิด Thousand Thousand 2008 ประชากรที่อายุมากกว่า 65 มีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.2% ในปี 2553 จะเพิ่มเป็น 23.1%

  7. ตอนที่ 1 การกระจายสินค้าทางอากาศ หลังการเก็บเกี่ยวจะใช้เวลา ประมาณ 10 วัน จึงจะถึงผู้บริโภค

  8. ตอนที่ 1 การกระจายสินค้าทางเรือ หลังการเก็บเกี่ยวจะใช้เวลา ประมาณ 20 วัน จึงจะถึงผู้บริโภค

  9. ตอนที่ 1 สรุปตอนที่ 1 • ต้องคำนึงถึงช่วงเวลาใน การส่งสินค้าถึงผู้บริโภคในญี่ปุ่น • การควบคุมความสุก ในแต่ละสภาวะการขนส่ง

  10. ตอนที่ 2 แนวโน้มการนำเข้าผลไม้ • ปริมาณการนำเข้า • การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น

  11. ตอนที่ 2 ปริมาณการนำเข้ามังคุด Unit: Mt ・สาเหตุที่ปริมาณนำเข้าลดลง คุณสามารถบอกได้หรือไม่?

  12. ตอนที่ 2 การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น • ดูกราฟเส้นรูปกล้วยหอม- การบริโภคผลไม้สดเพียง 114 กรัม ต่อคน ต่อวัน ในปี 2547 • ปริมาณการซื้อของครัวเรือนญี่ปุ่น ลดลงร้อยละ 28 ลดลงอย่างมาก. การบริโภค การซื้อต่อครอบครัว 2547 2523 2535

  13. ตอนที่ 2 สัดส่วนของผลไม้นำเข้า Unit:1000Mt Unit:% • ปริมาณนำเข้าเพิ่มขึ้น 5 เท่าจาก 30 ปีที่ผ่านมา • ปริมาณนำเข้าเพิ่มถึง 550 ล้านตัน • สัดส่วนผลไม้นำเข้า 60%. *สัดส่วนผลไม้ในประเทศ เพียง 40% Imported fruits Share of it 2508 2548

  14. ตอนที่ 2 การบริโภคผลไม้ ปริมาณ: 10 กก. ต่อครอบครัว ต่อปี ( 3-6 คน) • ค่าใช้จ่าย: 40,000 เยน ≒14,500 บาทต่อครอบครัว ต่อปี เฉลี่ยการซื้อต่อผลเพียง 141 เยน *ในซุปเปอร์มาร์เกต • แนวโน้ม: *ลดลงในแต่ละปี *ถูกแทนที่ด้วยน้ำผลไม้สด ผลิตภัณฑ์แปรรูป และขนมหวาน‘’Sweets” *ลดการจ่าย เนื่องจากค่าครองชีพสูงขึ้น

  15. ตอนที่ 2 สรุปตอนที่ 2- มังคุด ・ปริมาณนำเข้ามังคุดลดลง ในปี 2546 นำเข้า 395 ล้านตัน ปี 2550 นำเข้า เพียง 117 ล้านตัน ・การบริโภคในรูปของหวานและขนม บ่อยครั้งขึ้น และการซื้อเพิ่มขึ้น ・การใช้มังคุด ทำเป็นขนมเพิ่มขึ้น ・หลายประเทศขอให้ญี่ปุ่นเปิดตลาดผลไม้ จำเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพ หากสามารถปรับปรุงได้ ก็จะมีโอกาสในตลาด

  16. ตอนที่ 3 กุญแจแห่งความสำเร็จ-แง่การตลาด- • ความพอใจของลูกค้า • เสียงของลูกค้า • รูปลักษณ์ และการนำเสนอ (Appearance and presentation of character) • เรียนรู้การส่งเสริมการตลาดที่ดี (ต.ย. กรณีไต้หวัน)

  17. ตอนที่ 3 ความพอใจของลูกค้าต่อผลไม้เมืองร้อน ความรู้สึกคาดหวังของลูกค้า • รสชาติ: ความหวานเป็นสิ่งสำคัญ และเส้นใยน้อย • ระดับราคา: สมเหตุผล • เนื้อ: เมล็ดเล็ก เนื้อนุ่ม เสียง(บ่น) จากลูกค้า • ปอก ตัด อย่างไร: ไม่เคยชิน ทำไม่ได้ • เก็บอย่างไร:ไม่เคยชิน ทำไม่ถูก • เมื่อไหร่จะสุกหรือกินได้: ยากที่จะรู้ *จำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่ลูกค้าไม่พอใจ

  18. ตอนที่ 3 จุดขายของผลไม้เมืองร้อน • ความคาดหวังผลไม้จากไทย – • * [บรรยากาศไทยๆ หวานและสด] • ฤดูกาล * ต้นฤดูใบไม้ผลิ (ปลายเดือนมีนาคม ถึงพฤษภาคม เป็นช่วงดีที่สุด) ซึ่งสามารถสร้างภาพลักษณ์ผลไม้ เมืองร้อนจากไทยได้ • คู่แข่ง * ผลไม้เมืองร้อน – มะม่วงจากฟิลิปปินส์ เม็กซิโก อินเดียและไต้หวัน *ผลไม้นำเข้า –เกรปฟรุต ส้ม เชอรี่ จากสหรัฐฯ และกีวี จากนิวซีแลนด๋ *ขนมและของหวาน - น้ำผลไม้ ไอสครีม พุดดิ้ง โยเกริต หวานเย็นรสผลไม้ ฯลฯ แข่งขันในด้านคุณภาพ ราคา และด้วยส่วนเนื้อผลไม้

  19. ตอนที่ 3 จุดขาย - สิ่งดึงดูด - • ความสด • ราคา • สี รูปลักษณ์ • ตรงฤดูกาล • แหล่งที่มา แหล่งผลิต • ขนาด น้ำหนัก • ความสุก • ปลอดสารเคมี • อินทรีย์ เมื่อเลือกซื้อจะให้ความสำคัญว่า คุณค่าเหมาะสมกับ ราคาหรือความสด หรือไม่

  20. ตอนที่ 3 เสียงจากลูกค้า -มังคุด- • เก็บอย่างไร • เก็บได้นานแค่ไหน • ทานได้เมื่อใด • บอกได้อย่างไรจากลักษณะภายนอก ลูกค้ายังไม่พอใจ

  21. ข้อร้องเรียน ตอนที่ 3 3.เสียหายจากการอบ • เนื้อแก้ว 2. เสียหายจากการขนส่ง 4. ยางไหล

  22. ตอนที่ 3 การส่งเสริมและนำเสนอ-มังคุด- เก็บอย่างไร การตัด การรับประทาน ด้วยวิดิโอ

  23. ตอนที่ 3 ตัวอย่างที่ดีในการส่งเสิมการขาย -ผลไม้ไต้หวัน- เผยแพร่ต่อสาธารณชนดึงดูดด้วยรสชาติ ความสด สินค้าตามฤดูกาล โดยใช้สื่อต่างๆ ดารานักแสดงชื่อเสียงในกลุ่มวัยรุ่น

  24. ตอนที่ 3 การส่งเสริมการตลาดที่ดี-ส้มจากสหรัฐฯ- • คาราวานการขาย โดยแจกชิม และปริมาณ นำแสดงเป็นจำนวนมาก ในซุปเปอร์มาร์เกต

  25. ตอนที่ 3 การส่งเสริมการตลาดที่ดี -เชอรี่จากสหรัฐ- เชอรี่จากสหรัฐ ดึงดูดความสนใจได้มาก ทุกคนจำได้ว่าเมื่อใดถึงฤดูที่มีมากสุด

  26. ตอนที่ 4 มุมมองของผู้จัดซื้อ (Buyer) • สวน • ความปลอดภัยอาหาร • คุณภาพ • การติดต่อตรง • ราคา

  27. ตอนที่ 4 สวน • การจัดการ–Global Gap Standard- ระบบเกษตรที่ดีเหมาะสมสากล • ความปลอดภัยอาหาร Food safety *เป็นไปตามมาตรฐานสารตกค้างของญี่ปุ่น *รัฐบาลไทยควบคุมการใช้สารเคมีสำหรับพืช แต่ฟาร์มข้างเคียงปลูกอีกพืช อาจเกิดปัญหาปนเปื้อนข้ามมา จากฟาร์มอื่นได้ *การป้องกันการปนเปื้อนนข้ามจากฟาร์มใกล้เคียง และบันทึกไว้เป็นหลักฐาน

  28. ตอนที่ 4 สวน • ห้ามการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อผลไม้ เพราะ มีสารเคมีเคลือบอยู่ ทำให้เกิดการปนเปื้อนได้ (FluorescentChemical) ตัวอย่างในการควบคุมสารเคมี ใช้ถุงคลุมทำด้วยกระดาษปลอดสาร ล็อคห้องเก็บสารเคมี

  29. ตอนที่ 4 ที่สวน ตัวอย่างที่ไม่ดี สารเคมี ขยะ

  30. ตอนที่ 4 ที่สวน • ตัวอย่างที่ไม่ดี การทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่เรียบร้อย

  31. ตอนที่ 4 ที่สวน ในสวน เห็นชัดว่ามีการใช้สารเคมี อย่างแน่นอน

  32. ตอนที่ 4 การป้องกันการปนเปื้อนข้ามสวน ที่สวน ปลูกแยก แบ่งแยกระยะ(5M) ข้าวโพดหวาน

  33. ตอนที่ 4 มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ① สำคัญอันดับหนึ่ง‐ความปลอดภัยอาหาร ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น • ความปลอดภัยอาหาร • สุขอนามัยการผลิต การเกษตรที่เหมาะสม • การควบคุมอันตรายต่อความปลอดภัยอาหารในกระบวนการผลิต: HACCP • COC = Code of Conduct, การผลิตอย่างรับผิดชอบ • การสืบย้อนกลับแหล่งที่มา • การตรวจสอบโดยบุคคลที่สาม Certified by 3rd party

  34. ตอนที่ 4 ‐ความปลอดภัยอาหาร -การตรวจพบสารเคมีตกค้างม.ค. 2549 – ก.พ.2551

  35. ตอนที่ 4 ‐ความปลอดภัยอาหาร-การตรวจพบสารเตมีตกค้างม.ค. 2549 – ก.พ.2551 *พบในผักเป็นส่วนใหญ่ *การใช้สารเคมีไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้พบสารตกค้าง *แม้จะใช้อย่างถูกต้องอาจปนเปื้อนข้ามมาจากสวนอื่น

  36. ตอนที่ 4 การป้องกัน • บันทึกการพ่นยา • ถ้าไม่มีบันทึก ผู้ซื้อไม่อยากซื้อ • ติดตามข้อมูล มาตรฐานสารฯตกค้างของแต่ละประเทศ • ใช้สารเคมีตามที่กำหนด เท่านั้น • ก่อนและหลังเก็บ ต้องตรวจสารเคมีตกค้าง โดย บริษัทอิสระ

  37. ตอนที่ 4 สำคัญอันดับ 2 -คุณภาพ- มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer)② • ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น • ชนิด • ขนาด • ความสุก • การบรรจุ

  38. ตอนที่ 4 อันดับ3 -ราคา- มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer)③ ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และ ผู้ค้าส่งญี่ปุ่น • ราคา • การส่งเสริมการขาย • ความสม่ำเสมอของปริมาณ • มีของตลอดปี

  39. ตอนที่ 4 การแข่งขันกับประเทศอื่น - มะม่วง -

  40. ตอนที่ 4 การแข่งขันกับผลไม้อื่น ในเดือนมีนาคม– กรกฎาคม *One of Major chain Super market data ผลไม้เมืองร้อน&มะม่วง ผลไม้อื่น ๆ *ราคาปลีกเฉลี่ย ของผลไม้เมืองร้อน\338 ในปี2551 \329 ในปี2550 * ราคาปลีกเฉลี่ย ของมะม่วง\373 ในปี 2551\340ในปี 2550 * เฉลี่ยของเสียและทิ้ง 20%

  41. ตอนที่ 4 การแข่งขันราคา • ผู้ซื้อตัดสินใจจากราคาที่สมดุลย์กับ ผลไม้อื่น • แม้ว่าผลไม้ไทยจะน่าสนใจในเรื่อง รสชาติแต่ต้องชนะผลไม้คู่แข่งอื่นให้ได้ • ถ้าต้องการขายในราคาแพงต้องทำ เป็นไปตามที่ลูกค้าและผู้ซิ้อต้องการให้ได้ • แต่ก่อน สามารถเก็บแล้วขายได้เลย แต่ ปัจจุบันไม่ใช่เช่นนั้น • จำเป็นต้องมีความแตกต่างจากของอื่นๆ

  42. ตอนที่ 4 การขายตรงจากเกษตรกรถึงผู้ค้าปลีก ตัวอย่างในญี่ปุ่น สินค้าเน่าเสียง่าย การส่งตรงไปผู้ค้าปลีก สัญญาระหว่างกัน 1.ต้องผ่านมาตรฐาน ความปลอดภัย อาหารและการผลิต ที่รับผิดชอบ 2. รายละเอียดสินค้า 3. ช่วงเวลา 4. ปริมาณ 5. ราคา เจรจาตรงกับเกษตรกร

  43. ตอนที่ 4 มังคุด • เป็นไปได้ในการขายตรงจากเกษตรกร ไปสู่ผู้ค้าปลีกในญี่ปุ่น • ถ้าสามารถตกลงเงื่อนไขสามารถทำ สัญญาซื้อ 200ตัน • ต้องเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนด • เราต้องการร่วมเป็นหุ้นส่วนกับเกษตรกรไทย

  44. ขอบคุณครับ

More Related