1 / 9

Power Series

Power Series. 2301520 Fundamentals of AMCS. อนุกรมกำลัง (Power Series). อนุกรมกำลังเป็นอนุกรมอนันต์ที่อยู่ในรูปของ โดยที่ เป็นสัมประสิทธิ์ของพจน์ที่ n c เป็นค่าคงที่ x เป็นตัวแปร เราเรียกอนุกรมนี้ว่าเป็น อนุกรมกำลังมีศูนย์กลางที่ c (power series centered at c ).

chill
Télécharger la présentation

Power Series

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Power Series 2301520 Fundamentals of AMCS

  2. อนุกรมกำลัง (Power Series) • อนุกรมกำลังเป็นอนุกรมอนันต์ที่อยู่ในรูปของ โดยที่ เป็นสัมประสิทธิ์ของพจน์ที่ n cเป็นค่าคงที่ xเป็นตัวแปร • เราเรียกอนุกรมนี้ว่าเป็นอนุกรมกำลังมีศูนย์กลางที่ c(power series centered at c )

  3. อนุกรมกำลัง (Power Series) • อนุกรมดังกล่าวอาจลู่เข้าสำหรับค่า x บางค่าและลู่ออกสำหรับค่า x ค่าอื่นๆ ยกตัวอย่างเช่นอนุกรม หากใช้ Ratio Test จะพบว่าอนุกรมดังกล่าวจะลู่เข้าเมื่อ และลู่ออกเมื่อ หรือ (example 1)

  4. อนุกรมกำลัง (Power Series) • ทฤษฎีบทที่ 1 กำหนดให้ เป็นอนุกรมกำลัง จะได้ว่าหนึ่งในสามข้อต่อไปนี้เป็นจริง • อนุกรมดังกล่าวลู่เข้าเมื่อ x=c เท่านั้น (R=0) • อนุกรมดังกล่าวลู่เข้าสำหรับ x ทุกๆค่า (R=∞) • มีจำนวนเต็มบวก R ที่ทำให้อนุกรมดังกล่าวลู่เข้าเมื่อ |x-c|<R และ ลู่ออกเมื่อ |x-c|>R • เราเรียกค่า R ว่าเป็นรัศมีของการลู่เข้า (radius of convergence)

  5. อนุกรมกำลัง (Power Series) • นอกจากนี้ยังมีช่วงของการลู่เข้า(interval of convergence) ของอนุกรมกำลังซึ่งเป็นช่วงของค่า x ที่ทำให้อนุกรมลู่เข้า • ถ้าอนุกรม มีรัศมีของการลู่เข้า R ช่วงของการลู่เข้าเป็นไปได้สี่แบบคือ (c-R,c+R) (c-R,c+R] [c-R,c+R) [c-R, c+R]

  6. เขียนฟังก์ชันในรูปของอนุกรมกำลังเขียนฟังก์ชันในรูปของอนุกรมกำลัง • บางฟังก์ชันสามารถเขียนให้อยู่ในรูปอนุกรมกำลังได้ โดยอาศัยอนุกรมเรขาคณิต ทบทวน อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series) ซึ่งจะลู่เข้าสู่ เมื่อ |x|<1 • ยกตัวอย่างเช่น สามารถเขียนในรูปของอนุกรมกำลังได้เป็น ซึ่งลู่เข้าในช่วง (-2,2) (example 2)

  7. เขียนฟังก์ชันในรูปของอนุกรมกำลังเขียนฟังก์ชันในรูปของอนุกรมกำลัง • ผลบวกในอนุกรมกำลังดังกล่าวเป็นผลบวกอนันต์ ลองมาดูว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราเอามาเฉพาะผลบวกของพจน์แรกๆ กล่าวคือ สมมุติให้ (ซึ่งหมายความว่า ) โดยใช้ตัวอย่างและ (example 3)

  8. Taylor and Maclaurin Series • ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้าฟังก์ชัน f(x) สามารถเขียนอยู่ในรูปอนุกรมกำลังที่มีศูนย์กลางที่ c ได้หรือ ถ้า จะได้ว่าค่าสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์จะเป็น

  9. Taylor and Maclaurin Series • เมื่อแทนค่า anลงไปในสมการจะได้ • อนุกรมกำลังดังกล่าวเรียกว่าอนุกรมเทย์เลอร์(Taylor Series) • ถ้าค่า c=0 อนุกรมดังกล่าวยังมีชื่อพิเศษขึ้นมาอีกว่า เป็น Maclaurin Series (example 4)

More Related