1 / 32

คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน

จังหวัดอุดรธานี. สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สำนักงาน เกษตรอำเภอกุดจับ. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน. รูปแบบของการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน กรณีตัวอย่าง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี.

cicely
Télécharger la présentation

คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน รูปแบบของการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน กรณีตัวอย่าง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน โดย นายเนตร นักบุญ และทีมงาน สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ

  2. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ อำนาจหน้าที่ 1.บริหารจัดการเพื่อผลิตสินค้าข้าวของ จังหวัดตามความเหมาะสมของทรัพยากร 2.สำรวจตรวจสอบรวบรวมข้อมูลที่จำเป็น ต่อการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัด 3.ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่และบูรณา การส่งเสริมองค์ความรู้ 4.ประชาสัมพันธ์และสร้างเครือข่ายที เกี่ยวข้องเพื่อร่วมดำเนินการขับเคลื่อน การบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน ในพื้นที่ของจังหวัด 5.ติดตามและประเมินผล บูรณาการ 1. ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี 2. หัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์จังหวัดอุดรธานี 3. สภาหอการค้าจังหวัดอุดรธานี 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี 5. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดอุดรธานี 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 7. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาจังหวัดอุดรธานี 8. สภาเกษตรกรจังหวัดอุดรธานี 9. สหกรณ์การเกษตรจังหวัดอุดรธานี 10.ชมรมโรงสีข้าวจังหวัดอุดรธานี

  3. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ ขั้นตอนการดำเนินงาน • ข้อมูลชุดดิน • แหล่งน้ำ • ที่ตั้งโรงสี • ผลผลิตต่อไร่ • พันธุ์ข้าว • พื้นที่ปลูก • จำนวนเกษตรกร • Demand-Supply 1.แต่งตั้งคณะทำงานฯ 2.เชิญประชุม 3.วางแผน และแบ่งงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ 5.รายงานผลให้ ผู้ตรวจกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  4. รูปแบบการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืนรูปแบบการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ กรณีตัวอย่างอำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี หลวงปู่แก้วศักดิ์สิทธิ์ ผ้าย้อมสีธรรมชาติ แหล่งผลิตข้าวเหนียว ถั่วลิสงพันธุ์ดี ภาพเขียนสีประวัติศาสตร์ถ้ำสิงห์

  5. สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานีสำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ นำระบบ MRCF System มาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าว ของอำเภอกุดจับอย่างยั่งยืน สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ

  6. MRCF System M : Mapping ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเตรียมเข้าทำงาน ในพื้นที่โดยเน้นการใช้ข้อมูลแผนที่ R : Remote Sensing ประสานและให้บริการเกษตรกรด้วยวิธีการ ติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลจากระยะไกล C : Community Participation ใช้วิธีการจัดเวทีชุมชนในการทำงาน และร่วมดำเนินการกับเกษตรกรชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแบบมีส่วนร่วม F : Specific Field Service เข้าทำงานในพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

  7. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวระดับอำเภอของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวระดับอำเภอของจังหวัดอุดรธานีอย่างยั่งยืน บูรณาการ • นายอำเภอกุดจับ • ผู้แทนศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานี • ปศุสัตว์อำเภอกุดจับ • ประมงอำเภอกุดจับ • พัฒนาการอำเภอกุดจับ • ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอกุดจับ • ผู้แทนศูนย์วิจัยข้าวอุดรธานี • ผู้แทนสถานีพัฒนาที่ดินอุดรธานี • ผู้แทนศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุดรธานี • ผู้แทนโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาห้วยหลวง • ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรอำเภอกุดจับ • นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรประจำ • สำนักงานเกษตรอำเภอกุดจับ • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร • มหาวิทยาลัยชีวิต • เกษตรอำเภอกุดจับ อำนาจหน้าที่ 1.จัดทำแผนและแนวทางการปฏิบัติงานโดยการ บูรณาการและใช้ระบบ MRCF 2.กำหนดบทบาทและภารกิจพร้อมมอบหมายให้แต่ละ หน่วยงานรับผิดชอบและหาข้อมูล(จ้าภาพตามภารกิจ) 3.วิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน พร้อมองค์ประกอบเรื่องคนและสินค้า 4.กำหนดกรอบพื้นที่จัดทำแผนการประชุม การจัดเวทีชุมชน เสวนาทั้งในระดับเจ้าหน้าที่และ เกษตรกรตลอดจนเครื่องมือสื่อสารและประชาสัมพันธ์ 5.วางแผนพัฒนาเฉพาะพื้นที่(จุดเน้น) 6.รายงานผลให้คณะทำงานระดับจังหวัดและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทราบ

  8. ขั้นตอนการดำเนินงาน ข้อมูลที่จะนำมาใช้ในกระบวนการ MRCF เพื่อกำหนดพื้นที่และเป้าหมายในการพัฒนา 1.จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหาร จัดการสินค้าข้าวระดับอำเภออย่างยั่งยืน 2.ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทาง ปฏิบัติตลอดจนกำหนดบทบาท/ภารกิจที่ จะต้องรับผิดชอบและกำหนดตัวชี้วัด 3.ดำเนินงานตามแผนที่กำหนดโดยนำระบบ MRCF เป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน/ ประสานแบบบูรณาการกับคณะกรรมการ ชุดของจังหวัด 4.ติดตามและประเมินผลโครงการโดยใช้ ตัวชี้วัดตามที่กำหนด 5.รายงานผลให้คณะทำงานระดับจังหวัดทราบ • ข้อมูลดิน,ชุดดิน และการจัด Zoning ความเหมาะสมของดินในการปลูกพืช • แหล่งน้ำทั้งในเรื่องชลประทานแหล่งน้ำธรรมชาติตลอดจนน้ำใต้ดิน • พืชที่ปลูก พื้นที่ปลูก พันธุ์ที่ปลูก ผลผลิตต่อไร่ • ข้อมูลด้านการปศุสัตว์ • ข้อมูลการประมง • จำนวนเกษตรกรรวมถึงSmart Farmer และ Smart Officer • โรงสี ที่ตั้งโรงสี, กำลังการผลิต • การตลาด

  9. ข้อมูลพื้นที่อำเภอกุดจับข้อมูลพื้นที่อำเภอกุดจับ พื้นที่ทั้งหมด 776 ตารางกิโลเมตร 485,640 ไร่ • พื้นที่อาศัย 7,178 ไร่ • พื้นที่แหล่งน้ำ 3,800 ไร่ • พื้นที่ป่า 25,000 ไร่ • พื้นที่ทำการเกษตร 219,762 ไร่ • ข้าว 102,677 ไร่ • พืชไร่ 50,886 ไร่ • ยางพารา 36,880 ไร่ • อื่น ๆ 29,319 ไร่

  10. ทำนา 2,446,846 ไร่ ทำนา 2,446,846 ไร่ ทำนา 2,446,846 ไร่

  11. พื้นที่ Zoning ตามความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกข้าว S1 = 51,403 ไร่ (21.%) S2 = 42,434 ไร่ (17%) S3 = 2,458 ไร่ (1%) N = 147,014 ไร่ (61%) รวม 243,309 ไร่

  12. ตารางแสดงพื้นที่ความเหมาะสมในการปลูกข้าว อำเภอกุดจับ

  13. ตารางแสดงพื้นที่ความเหมาะสม และพื้นที่ปลูกข้าวจริง อำเภอกุดจับ ต.ปะโค 10,886 ไร่ ต.เชียงเพ็ง 17,357 ไร่ ต.เมืองเพีย 15,047 ไร่ ต.กุดจับ 3,279 ไร่

  14. พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 34,308 ไร่ ต.เชียงเพ็ง 1,050 ไร่ • ในส่วนพื้นที่นาไม่เหมาะสมภายใต้โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) ได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมการปลูกอ้อยโรงงาน พื้นที่ 18,952 ไร่ • ตำบลขอนยูง 4,771 ไร่ • ตำบลสร้างก่อ 4,884 ไร่ • ตำบลกุดจับ 4,349 ไร่ • ตำบลตาลเลียน 3,898 ไร่ • ตำบลเชียงเพ็ง 1,050 ไร่ • โดยร่วมกับโรงงานน้ำตาลไทยอุดร ที่ตั้งอยู่อำเภอบ้านผือ ระยะทางจากอำเภอกุดจับถึงโรงงาน 40 กิโลเมตร ต.สร้างก่อ 4,884 ไร่ ต.ตาลเลียน 3,898 ไร่ ต.ขอนยูง 18,952 ไร่ ต.กุดจับ 4,349 ไร่ หน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุดรธานี (เนื้อเยื่อ) อบรมเกษตรกร จำนวน 2,000 ราย

  15. ชุดดินที่ 35 คิดเป็น 60 % ของพื้นที่ ชุดดินที่ 17 คิดเป็น 20 % ของพื้นที่ ชุดดินที่ 18 คิดเป็น 10 % ของพื้นที่ ชุดดินที่ 40 คิดเป็น 5 % ของพื้นที่ ชุดดินที่ 62 คิดเป็น 3 % ของพื้นที่ ชุดดินที่ 49 คิดเป็น 2 % ของพื้นที่

  16. จำนวนสัตว์เลี้ยง - โค กระบือ จำนวน 2,700 ตัว - เป็ด ไก่ จำนวน 123,956 ตัว พืชอาหารสัตว์ (หญ้า/ ฟางข้าว) - โค 1 ตัว กินหญ้า/ฟาง ตัวละ 50 กก. ต่อ วัน คิดเป็น 135,000 กก. 135 ตันต่อวัน 49,275 ตัน ต่อปี เป็นเงิน 4,927,500 บาท - โค 1 ตัว ขับมูลตัวละ 15 กก. /วัน 40,500 กก.หรือ 40 ตัน/วัน 4,600 ตัน/ปี คิดเป็นน้ำหนักแห้ง 7,300 ตัน เป็นเงิน 2,190,000 บาท เป็ด ไก่ กินอาหารวันละ ½ กก. เท่ากับ 61,978 กก./วัน เป็นเงิน 185,934 บาท/วัน 67,865,910 บาท/ปี รวมมูลค่าด้านปศุสัตว์ 74,983,410 บาท /ปี ข้อมูลด้านปศุสัตว์ เกษตรกรด้านปศุสัตว์ 5,936 ครัวเรือน คิดเป็น 53.79% นายเดชา วงษ์รัตนะ หมู่ 8 ต.เมืองเพีย นายบุญทัน นาชัยคูณ หมู่ 2 ต.กุดจับ

  17. ข้อมูลด้านประมง Smart Farmer ด้านประมง 1. เกษตรกรผู้เลี้ยงปลา จำนวน 516 ราย มีบ่อปลาทั้งสิ้น 396 บ่อ คิดเป็น 4.67% ของครัวเรือนเกษตรกร 2. ชนิดปลาที่เลี้ยง ได้แก่ ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน และปลายี่สบ (ปลากินพืช) 3. เกษตรกรที่ประกอบอาชีพประมง จำนวน 65 ราย 4. Smart Farmer เรื่องปลา จำนวน 1 ราย นางดวงใจ ดงเจริญ หมู่ 1 ต.เมืองเพีย

  18. ข้อมูลการใช้น้ำ LMC อ.กุดจับ RMC ห้วยหลวง ที่ทำการฝ่ายส่งน้ำฯที่ 3 สมาชิกผู้ใช้น้ำทั้งหมด 9 กลุ่ม 3,876 ครัวเรือน พื้นที่รับน้ำทั้งหมด 46,252 ไร่ 47 หมู่บ้าน ต.กุดจับ 5,543 ไร่ 4 หมู่บ้าน ต.เมืองเพีย 13,849 ไร่ 15 หมู่บ้าน ต.ปะโค 12,882 ไร่ 14 หมู่บ้าน ต.เชียงเพ็ง 13,978 ไร่ 13 หมู่บ้าน Smart farmer ต้นแบบ 7 คน เขื่อนห้วยหลวง

  19. แผนการบริหารจัดการน้ำ ปี พ.ศ. 2557 ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่าง ฯ 165.605 ล้าน ลบ.ม. • ปริมาณการใช้น้ำพื้นที่ต่อหน่วย • นาข้าว ไร่ละ 2,000 ลูกบาศก์เมตร • พืชไร่ 600 ลูกบาศก์เมตร

  20. ข้อมูลแหล่งน้ำธรรมชาติข้อมูลแหล่งน้ำธรรมชาติ 1. หนองโน พื้นที่รับน้ำ 4,500 ลบ.เมตร 2. หนองไชยวาน พื้นที่รับน้ำ 154,000 ลบ.เมตร 3. หนองแวงคำ 210,000 ลบ.เมตร 4. อ่างห้วยแจ้งกา พื้นทีรับน้ำ 633,000 ลบ.เมตร 5. ห้วยเชียง พื้นที่รับน้ำ 420,000 ลบ.เมตร 6. หนองย่างเมย พื้นที่รับน้ำ 374,000 ลบ.เมตร 7. ซำขี้เขียว พื้นที่รับน้ำ 160,000 ลบ.เมตร 8. ฝายน้ำล้น พื้นที่รับน้ำ 192,000 ลบ.เมตร 9. อ่างเก็บน้ำถ้ำเต่า พื้นที่รับน้ำ 80,000 ลบ.เมตร 10. ฝายน้ำล้น ผัง 4 พื้นที่รับน้ำ 33,000 ลบ.เมตร 11. หนองบ่องีม พื้นที่รับน้ำ 30,000 ลบ.เมตร 12. ลำห้วยนา พื้นที่รับน้ำ 48,000 ลบ.เมตร 13. หนองบึงมอ พื้นที่รับน้ำ 576,000 ลบ.เมตร 13 11 10 ต.ปะโค 9 ต.เชียงเพ็ง 12 ต.สร้างก่อ 7 ต.ตาลเลียน 8 6 1 ต.เมืองเพีย 4 3 2 ต.ของยูง ต.กุดจับ 5

  21. ข้อมูลเกษตรกร นายสมหมาย จำปามูล เลขที่ 17 หมู่ 4 ต.ปะโค โทร.083-3494676 นายสมชาย เกียล่น เลขที่ 12 หมู่ 3 ต.เชียงเพ็ง โทร.081-9331294 Smart farmer ต้นแบบ (ด้านข้าว) 6 คน • เกษตรกร 11,039 ครัวเรือน • ผ่านการสำรวจ 10,645 ครัวเรือน • ชาวนา 6,459 ครัวเรือน • Smart Farmer 475 ครัวเรือน • ต้นแบบด้านข้าว 6 ครัวเรือน • Smart Farmer อกม. 91 คน • Developing 53,095 ครัวเรือน นายชัชวาลย์ ท้าวมะลิ เลขที่ 102 หมู่ 7 ต.เชียงเพ็ง โทร. 086-2214393 นายพูนทรัพย์ ทองอุ่น เลขที่ 8 หมู่ 4 ต.เมืองเพีย โทร.084-7978936 นายประภาส วรรณา เลขที่ 20/1 หมู่ 4 ต.เมืองเพีย โทร. 086-2420601 นายสุธรรม โพธิ์เพชรเล็ก เลขที่ 51 หมู่ 4 ต.กุดจับ โทร. 088-7312414

  22. พื้นที่เป้าหมายการผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานีพื้นที่เป้าหมายการผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานี จำนวน 13 กลุ่ม เกษตรกร 366 ราย พื้นที่ดำเนินการ 5,022 ไร่ - ข้าวเหนียว 4,434 ไร่ - ข้าวเจ้า 588 ไร่ ผลผลิตรวม 2,187 ตัน คิดเป็นมูลค่า 40,729,987 บาท จำนวนศูนย์ข้าวชุมชน 7 ศูนย์ สมาชิกทั้งหมด 450 ราย พื้นที่ดำเนินการ 1,400 ไร่ - ข้าวเหนียว 1,200 ไร่ - ข้าวเจ้า 200 ไร่ ผลผลิตรวม 650 ตัน คิดเป็นมูลค่า 9,600,000 บาท

  23. พื้นที่เป้าหมายการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ของสำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดอุดรธานี ต.ปะโค 250 ไร่ ต.เชียงเพ็ง 250 ไร่ • พื้นที่ดำเนินการ 3,200 ไร่ • ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยพืชสด 1,000 ไร่ • เกษตรกร 200 ราย • ส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ 2,200 ไร่ • เกษตรกร 220 ราย ต.เมืองเพีย 250 ไร่ ต.กุดจับ 250 ไร่

  24. ต้นทุนการผลิตข้าว ของอำเภอกุดจับ นาดำ 1. ค่าเมล็ดพันธุ์ 5 กก./ไร่ กก.ละ 25 บาท เป็นเงิน 125 บาท 2. ค่าเตรียมดิน ไร่ละ 350 บาท ไถ 2 ครั้ง เป็นเงิน 700 บาท 3. ค่าแรงงานปักดำ ไร่ละ 1,000 บาท 4. ค่าปุ๋ยเคมี ไร่ละ 25 กิโลกรัม ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 500 บาท 5. ค่าเก็บเกี่ยว ไร่ละ 900 บาท 6. ค่าขนส่ง ไร่ละ 125 บาท รวมค่าใช้จ่ายไร่ละ 3,350 บาท ผลผลิต ไร่ละ 500 กิโลกรัม ต้นทุนต่อหน่วย กิโลกรัมละ 6.70 บาท ราคาจำหน่าย กิโลกรัมละ 15 บาท คิดเป็นเงิน ไร่ละ 7,500 บาท คิดเป็นรายได้สุทธิ ไร่ละ 4,150 บาท

  25. นาหว่าน 1. ค่าเมล็ดพันธุ์ 15 กิโลกรัม/ไร่ กิโลกรัมละ 25 บาท เป็นเงิน 375 บาท 2. ค่าเตรียมดิน ไร่ละ 400 บาท ไถ 2 ครั้ง เป็นเงิน 800 บาท 3. ค่าแรงงานหว่าน ไร่ละ 200 บาท 4. ค่าฉีดพ่นสารเคมีคลุมหญ้า พร้อมค่าแรง ไร่ละ 300 บาท 5. ค่าปุ๋ยเคมี ไร่ละ 25 กิโลกรัม ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 500 บาท 6. ค่าเก็บเกี่ยว ไร่ละ 900 บาท 7. ค่าขนส่ง ไร่ละ 125 บาท รวมค่าใช้จ่ายไร่ละ 3,200 บาท ผลผลิต ไร่ละ 500 กิโลกรัม ต้นทุนต่อหน่วย กิโลกรัมละ 6.40 บาท ราคาจำหน่าย กิโลกรัมละ 15 บาท คิดเป็นเงิน ไร่ละ 7,500 บาท คิดเป็นรายได้สุทธิ ไร่ละ 4,300 บาท

  26. นาโยน 1. ค่าเมล็ดพันธุ์ 3 กิโลกรัม/ไร่ กิโลกรัมละ 25 บาท เป็นเงิน 75 บาท 2. ค่าเตรียมดิน ไร่ละ 350 บาท ไถ 2 ครั้ง เป็นเงิน 700 บาท 3. ค่าแรงงานโยน ไร่ละ 1,000 บาท 4. ค่าปุ๋ยเคมี ไร่ละ 25 กิโลกรัม ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 500 บาท 5. ค่าเก็บเกี่ยว ไร่ละ 900 บาท 6. ค่าขนส่ง ไร่ละ 125 บาท รวมค่าใช้จ่ายไร่ละ 3,300 บาท ผลผลิต ไร่ละ 500 กิโลกรัม ต้นทุนต่อหน่วย กิโลกรัมละ 6.60 บาท ราคาจำหน่าย กิโลกรัมละ 15 บาท คิดเป็นเงิน ไร่ละ 7,500 บาท คิดเป็นรายได้สุทธิ ไร่ละ 4,200 บาท

  27. สถานการณ์การผลิตข้าวอำเภอกุดจับ ปีการผลิต 2556/57 SUPPLY ผลผลิตรวม ต่อปี 56,313 ตัน พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 103,208 ไร่ ผลผลิต 52,532 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 509 กิโลกรัม/ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 6,302 ไร่ ผลผลิต 3,781 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 600 กิโลกรัม/ไร่

  28. SUPPLY • ผลผลิตข้าว 56,313 ตัน • ทำเมล็ดพันธุ์ • ศูนย์เมล็ดพันธุ์ 2,187 ตัน (3.8%) • หมู่บ้านเมล็ดพันธุ์ 1,000 ตัน (1.7%) • ศูนย์ข้าวชุมชน 50 ตัน (0.08%) • ทำเมล็ดพันธุ์ที่ปลูกในพื้นที่ และชุมชน 1,642 ตัน (3 %) • แปรรูปเพื่อจำหน่าย 50 ตัน (0.08%) (กลุ่มวิสาหกิจชุมชน) • แปรรูปเพื่อบริโภคในครัวเรือน (64,625) 22,618 (40%) ขายให้โรงสีในเขตอำเภอกุดจับ 28,766 ตัน (51%)

  29. DEMAND หมู่บ้านเมล็ดพันธุ์ หมู่ 4 ต.ปะโค • เกษตรกรทั้งหมดของอำเภอกุดจับ 16,906 ครัวเรือน • ประชากร 64,625 คน • เกษตรกรทำนา ของอำเภอกุดจับ 6,459 ครัวเรือน • เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว ปี 2556 = 4,205 ครัวเรือน • เกษตรกรเข้าร่วมโครงการรับจำนำ 1,794 ครัวเรือน • ผลผลิตทั้งหมด 4,778 ตัน มูลค่า 89,922,739 บาท • โรงสีที่เข้าร่วมโครงการ คือ โรงสีกุดจับการเกษตร • มีกำลังการผลิต 39,000 ตัน/ปี • ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานี ซื้อไปทำเมล็ดพันธุ์ • 2,187 ตัน/ปี มูลค่า 40,729,987 บาท • กลุ่มวิสาหกิจชุมชน แปรรูปจำหน่าย 50 ตัน • มูลค่า 500,000 บาท • ศูนย์ข้าวชุมชน 7 แห่ง นำไปทำเมล็ดพันธุ์ 50 ตัน/ปี • มูลค่า 1,000,000 บาท • หมู่บ้านเมล็ดพันธุ์ 1 แห่ง นำไปทำเมล็ดพันธุ์จำหน่าย • 1,000 ตัน/ปี มูลค่า 25,000,000 บาท • ขายให้โรงสี 28,766 ตัน มูลค่า 373,958,000 บาท • รวม 512,857,987 บาท โรงสีกุดจับการเกษตร

  30. ตารางวิเคราะห์ MRCF กับการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าว ของอำเภอกุดจับอย่างยั่งยืน

  31. สรุปผลการวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการ MRCF กับการขับเคลื่อน การดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าว ของอำเภอกุดจับอย่างยั่งยืน 1. เรื่องของกายภาพ ทั้งในเรื่องของดิน, น้ำ ตำบลที่มีความเหมาะสมได้แก่ ตำบลกุดจับ, ตำบลเมืองเพีย, ตำบลปะโค และตำบลเชียงเพ็ง พื้นที่ 46,252 ไร่ ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 32,376 ตัน (700 กิโลกรัม/ไร่) 2. เรื่องของหน่วยงานภาคี ที่จะสนับสนุนโครงการโดยการบูรณาการ เช่น ศูนย์วิจัยข้าว, ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว, สถานีพัฒนาที่ดิน, สำนักงานเกษตรจังหวัด, สำนักงานเกษตรอำเภอ, สหกรณ์อำเภอ มีแผนที่ปฏิบัติในพื้นที่อย่างชัดเจน 3. เรื่องของเกษตรกร Smart Farmer ต้นแบบทุกสาขาที่มีอยู่ในพื้นที่ จำนวนไม่น้อยกว่า 30 ราย และ Smart Officer จำนวน 18 ราย พร้อมที่จะเป็นผู้ประสาน และเชื่อมโยง และบริหารจัดการ การผลิตและการตลาดโดยใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ เพื่อความ ปลอดภัยของผู้บริโภค สังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน 4. เรื่องของการตลาด ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเมล็ดพันธุ์ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร เช่น การแปรรูป ตลอดจนโรงสีที่มีอยู่ในพื้นที่ก็มีกำลังการผลิตที่เพียงพอในการที่จะรับผลผลิต ที่ผลิตได้ ในพื้นที่ และยังมีหน่วยงานภาคีที่สนับสนุนในเรื่องเงินทุน เช่น ธกส. และสหกรณ์การเกษตร จากผลการวิเคราะห์ จะเห็นว่า ทั้ง 4 ตำบลของอำเภอกุดจับ เป็นพื้นที่ที่เหมาะสม ที่จะดำเนิน โครงการขับเคลื่อน การดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าว ของอำเภอกุดจับอย่างยั่งยืน

  32. สวัสดี

More Related