1 / 48

การเฝ้าระวังโรค ( Disease Surveillance)

การเฝ้าระวังโรค ( Disease Surveillance). นายปรัศนี ชูรัตน์ ส่วนป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 7. เค้าโครงเนื้อหา. ความหมาย. จุดประสงค์. รูปแบบ. วิธีการ. เป้าหมาย. ความหมาย จุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย. ความหมาย ( US CDC ).

ciro
Télécharger la présentation

การเฝ้าระวังโรค ( Disease Surveillance)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเฝ้าระวังโรค(Disease Surveillance) นายปรัศนี ชูรัตน์ ส่วนป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 7

  2. เค้าโครงเนื้อหา ความหมาย จุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย

  3. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ความหมาย (US CDC) • การรวบรวม และ วิเคราะห์ข้อมูล อย่างต่อเนื่องเป็นระบบ โดยมีการรายงานผลต่อผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างรวดเร็ว ทันเวลา ผลที่ได้มีความจำเป็นสำหรับการวางแผนการควบคุมโรคการดำเนินมาตรการควบคุมโรค หรือ การประเมินผลการควบคุมป้องกันโรค

  4. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย องค์ประกอบหลัก • รวบรวม บันทึก และ วิเคราะห์ข้อมูล • เผยแพร่ และรายงานผล • การดำเนินการควบคุมโรค

  5. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย จุดประสงค์ของการเฝ้าระวังโรค • ค้นหาโรค • ติดตามทิศทาง/แนวโน้มของโรค • ควบคุมและป้องกันโรค • ยืนยันสถานภาพปลอดโรค • เป็นข้อมูลสำหรับการวางแผน การศึกษา

  6. ค้นหาโรค เกษตรกรแจ้งการป่วย ตายของสัตว์ หรือส่งตัวอย่างตรวจ

  7. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ค้นหาโรค สำรวจการติดเชื้อไข้หวัดนกในเป็ด

  8. ค้นหาโรค สำรวจโรคบรูเซลโลซิสในโค สำรวจโรคทริคิเนลโลซิสในสุกร

  9. ค้นหาโรค การตรวจเยี่ยม เพื่อ สอบถาม สังเกต ความผิดปกติของสัตว์

  10. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ติดตามทิศทาง/แนวโน้มของโรค กราฟแสดงโรคทริคิเนลโลซิสในคนมีแนวโน้มลดลง

  11. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ตรวจสอบทิศทาง/แนวโน้มของโรค กราฟแสดงแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของโรค prrs ในสุกรในภาคใต้

  12. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ควบคุมและป้องกันโรค การให้ความรู้

  13. ควบคุมและป้องกันโรค ทำลายแหล่งของเชื้อ กักกันหรือแยกสัตว์ป่วย

  14. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ควบคุมและป้องกันโรค สร้างภูมิคุ้มกัน จัดการสัตว์ป่วยอย่างเหมาะสม

  15. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ยืนยันสถานภาพปลอดโรค เขตปลอดโรคปากเท้าเปื่อยของประเทศไทย จะเฝ้าระวังอย่างไร ตรวจสอบจากอะไรว่าปลอดโรค?

  16. ความหมายจุดประสงค์ รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย ยืนยันสถานภาพปลอดโรค ประเทศไทย เป็นประเทศปลอดโรค รินเดอร์เปสต์ และเป็นประเทศปลอดการติดเชื้อ อย่างเป็นทางการ เมื่อเดือน พ.ค. 2547 ได้อะไรจากการประกาศสถานภาพปลอดโรค?

  17. เป็นข้อมูลสำหรับการวางแผน การวิเคราะห์ความเสี่ยง การวิจัย (1) ข้อมูลจากการการเฝ้าระวังทริคิเนลโลซิสในคน ในประเทศไทย

  18. การสำรวจความชุกของโรคทริคิเนลโลซิส ในสุกร 1196 ตัว ความชุกรวม (17/1196) - 0.24% (0.37-1.12%) พื้นที่สูง (14/721 ) - 1.0% (0.46-1.48%) ที่ราบ (3/475) - 0.0% (0.00-0.36%) เครื่องหมาย หมู่บ้านที่สูง หมู่บ้านพื้นราบ เป็นข้อมูลสำหรับการวางแผน การวิเคราะห์ความเสี่ยง การวิจัย (2) กลุ่มสุกรบวก (9/160) 3.9% (2.21-5.56%)

  19. ทำไมยังมีการเกิดโรคทริคิเนลโลซิส มีวงจรการเกิดอย่างไร เป็นข้อมูลสำหรับการวางแผน การวิเคราะห์ความเสี่ยง การวิจัย (3)

  20. ลาบดิบ การศึกษาพฤติกรรม ความเชื่อ กับการเกิดโรคทริคิเนลโลซิส

  21. ความหมายจุดประสงค์รูปแบบ วิธีการ เป้าหมาย รูปแบบของการเฝ้าระวังโรค การเฝ้าระวังเชิงรุก การเฝ้าระวังเชิงรับ การเฝ้าระวังทางอาการ การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การเฝ้าระวังทางซีรั่มวิทยา การเฝ้าระวังตามความเสี่ยง

  22. การเฝ้าระวัง เชิงรับ-เชิงรุก(Active vs. Passive Surveillance) • การเฝ้าระวังในสัตว์ที่แสดงอาการป่วย • ใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมตามปรกติ ไม่มีการวางแผนเป็นการเฉพาะ • การเฝ้าระวังโดยการสำรวจในสัตว์ที่ไม่มีอาการป่วย • มีการวางแผนในการเก็บข้อมูลเป็นการเฉพาะ

  23. ให้ทุกกลุ่มระดมความคิดกิจกรรมการเฝ้าระวังเชิงรับ-เชิงรุกของกรมปศุสัตว์ 15 นาที นำเสนอกลุ่มละ 5 นาที กิจกรรม

  24. การเฝ้าระวังทางซีรั่มวิทยา(Sero-surveillance)การเฝ้าระวังทางซีรั่มวิทยา(Sero-surveillance) • สัตว์ติดเชื้ออาจไม่แสดงอาการแต่เป็นตัวแพร่โรค • สัตว์ที่ติดเชื้อสร้างภูมิคุ้มกัน ตรวจสอบได้ • ใช้วิธีการทดสอบภูมิคุ้มกัน บ่งบอกการติดเชื้อ

  25. การเฝ้าระวังทางอาการ(Clinical Surveillance) • โรคที่สัตว์ป่วยมีอาการแสดงเด่นชัด สังเกตได้ • กำหนดนิยามโรค ซึ่งบ่งถึงลักษณะของสัตว์ป่วย:ชนิดสัตว์ อาการ อัตราการป่วย อัตราการตาย • ค้นหาสัตว์ป่วยในพื้นที่ตามนิยามโรค โดยการตรวจเยี่ยม บันทึกข้อมูล และรายงานผล

  26. การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ(Laboratory Surveillance) • อาศัยการตรวจทางห้องปฏิบัติการในการยืนยันโรค

  27. การเฝ้าระวังตามระดับความเสี่ยง(Risk-based Surveillance) • สัตว์แต่ละกลุ่ม มีโอกาสเกิดโรคต่างกัน การเฝ้าระวังเน้นเป็นพิเศษในกลุ่มเสี่ยง ทำให้ประหยัด มีโอกาสพบโรคสูง สุกรเลี้ยงปล่อยมีความเสี่ยงของโรคทริคิเนลโลซิสสูงกว่าสุกรฟาร์ม

  28. ความหมายจุดประสงค์รูปแบบวิธีการ เป้าหมาย วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • รายงานตามความสมัครใจ voluntary notification • รายงานตามกฎหมาย mandatory notification • การสอบสวนโรค outbreak investigation • การเฝ้าระวังในกลุ่มตัวแทน sentinel surveillance • การสำรวจ survey • การสำมะโน census

  29. ความหมายจุดประสงค์รูปแบบวิธีการ เป้าหมาย วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • รายงานตามความสมัครใจvoluntary notification • มีผู้สังเกตพบ และรายงาน • ให้ความรู้เรื่องโรค และความสำคัญของโรค ทำให้มีการรายงาน • ขึ้นกับความตื่นตัวของประชาชน เจ้าหน้าที่

  30. วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรควิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • รายงานตามกฎหมาย mandatory notification • โรคตาม พ.ร.บ. • มีเกณฑ์ (นิยาม) เดียวกันทั่วประเทศ

  31. วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรควิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • การสอบสวนโรค outbreak investigation • สืบเนื่องจากการสังเกตความผิดปกติ ข้อมูลการเฝ้าระวัง ข่าว • นำไปสู่การสอบสวนที่ทำให้ได้ข้อมูลเพิ่มขึ้น

  32. วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรควิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • การเฝ้าระวังในกลุ่มตัวแทนsentinel surveillance • กลุ่มย่อยของคน/สัตว์ หรือ ชนิดสัตว์ ที่ไวต่อโรค หรือเป็นตัวอมโรค

  33. วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรควิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • การสำรวจ survey • เป็นการศึกษา ทดสอบ การเกิดโรค ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง • ระบุประชากรและโรคที่ศึกษาชัดเจน • ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคได้ด้วย

  34. วิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรควิธีได้มาของข้อมูลการเฝ้าระวังโรค • การสำมะโนcensus • ตรวจสอบ หรือ ทดสอบ โรคหรือความผิดปกติของประชากรสัตว์ทั้งหมด

  35. องค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรคองค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรค • ความถูกต้องและเป็นตัวแทนของประชากร • ประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง • นิยามของโรค • เครือข่าย

  36. Sample Sampling Population Target Population (Target) Population  Sampling Population  Sample องค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรค • ความถูกต้องและเป็นตัวแทนของประชากร

  37. Sample size to estimate a prevalence or for questionnaire Sample size as a function of population size, prevalence, % of acceptable error Expected Prevalence (Probability) A Acceptable error, B Confidence Interval, C Expected prevalence (probability), D Number of flocks to be sampled (95% confidence interval)

  38. วิธีการเก็บตัวอย่าง (Sampling design) • การสุ่มเก็บตัวอย่าง • - Simple random sampling • - Systematic random sampling • - Cluster random sampling • - Stratified random sampling • - Multistage random sampling

  39. องค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรคองค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรค • ประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง • ชนิดสัตว์ เช่น ช่วงอายุ • หน่วยวัด เช่น ตัวสัตว์ ฟาร์ม หมู่บ้าน .... • ขอบเขตพื้นที่ จังหวัด เขต ประเทศ....

  40. องค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรคองค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรค • นิยามของโรค/ปัญหาที่เฝ้าระวัง • อาการ • การตรวจ หรือ ทดสอบโรค • การเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา ต้องกำหนดเพื่อให้ผู้ปฏิบัติ สามารถคัดกรองสิ่งที่ทำการเฝ้าระวังได้ถูกต้อง

  41. กิจกรรม ให้ทุกกลุ่มระดมความคิดเขียนนิยามโรคไข้หวัดนก กลุ่มละ 10 นาที นำเสนอ 5 นาที

  42. Health Service Unit Province Zone/region National Publication Regional Hospitals General Hospitals Bureau of Epidemiology Report data Provincial Public Health Offices Report data Community Hospitals Health Centres Regional office of Disease Prevention and Control Private Hospitals องค์ประกอบของระบบการเฝ้าระวังโรค • เครือข่าย การรายงาน แหล่งข้อมูล การรวบรวม ส่งต่อข้อมูล

  43. ความหมายจุดประสงค์รูปแบบวิธีการเป้าหมายความหมายจุดประสงค์รูปแบบวิธีการเป้าหมาย เป้าหมาย ผลได้ จากการเฝ้าระวัง • ค้นพบการระบาดของโรคอย่างรวดเร็ว • ตรวจจับปัญหา/โรคได้ในระยะแรก • ตรวจสอบสถานภาพของโรคในประชากรสัตว์ • ยืนยันสถานภาพปลอดโรค • ออกแบบการควบคุมและป้องกันโรค • ประเมินผลของโครงการควบคุมโรค • เป็นข้อมูลสำหรับการวางแผน การวิเคราะห์ความเสี่ยง การวิจัย

  44. ขอบคุณครับ

More Related