1 / 51

การนำเสนอ ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ ที่ดำเนินการในจังหวัดระยอง

การนำเสนอ ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ ที่ดำเนินการในจังหวัดระยอง ปี 2553. อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ

cleave
Télécharger la présentation

การนำเสนอ ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ ที่ดำเนินการในจังหวัดระยอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนอระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ ที่ดำเนินการในจังหวัดระยอง ปี 2553 อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมสตาร์ http://hia.anamai.moph.go.th/hia

  2. ประเด็นที่จะนำเสนอ • HIA กับการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ • หลักการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ • การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ ในชุมชนมาบชลูด • การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ รอบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ในจังหวัดระยอง • การดำเนินงานในปีต่อไป 2554 • ข้อเสนอต่อการเฝ้าระวังใน จ.ระยอง แก้ไข

  3. HIA กับ การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ

  4. ขั้นตอนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพขั้นตอนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กระบวนการ มีส่วนร่วม ของ ทุกภาคส่วน ในการดำเนิน งาน ทุกขั้นตอน พิจารณาว่าจำเป็นต้องทำ HIA หรือไม่ โดย วิเคราะห์โครงการ ผลกระทบความรุนแรงต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพ และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย การกลั่นกรอง (Screening) กำหนดขอบเขตของการประเมินHIA ระบุประเด็นสุขภาพ กำหนดเครื่องมือประเมินผลกระทบ ระบุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มอ่อนไหว / กลุ่มเสียง การกำหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ใช้เครื่องมือประเมินผลกระทบทางสุขภาพทางวิทยฯ สังคม เศรษฐศาสตร์(ประเมินความเสี่ยง/ระบาดวิทยาฯลฯ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Appraisal) • นำข้อมูลเสนอในเวทีระดมความคิดเห็น • จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • - จัดทำรายงาน/ข้อเสนอแนะต่อผู้มีอำนาจตัดสินใจ การจัดทำรายงาน/ข้อเสนอแนะ(Report/ Recommendation) - ติดตามละประเมินผล การติดตามประเมินผล (Monitoring/Evaluation)

  5. โครงการรัฐ โครงการเอกชน HIA ผลกระทบต่อสุขภาพ บวก ลบ เฝ้าระวัง รายงานและข้อเสนอแนะ มาตรการ ป้องกัน/ลด ผลกระทบต่อสุขภาพ มาตรการ ติดตามเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ มาตรการ สร้างเสริม สุขภาพ การติดตามตรวจสอบและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

  6. ขั้นตอนของระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมขั้นตอนของระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แก้ไข รายงานผล มีระบบเก็บข้อมูล สุขภาพและสิ่งแวดล้อม บอกความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัย ด้านสิ่งแวดล้อมกับปัญหาสุขภาพ แก้ไขโดยผู้ก่อมลพิษ ผู้ได้รับผลกระทบ หน่วยงานรัฐ เผยแพร่/รายงาน แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกช่องทางสื่อ

  7. ชนิดของระบบเฝ้าระวัง ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ - ข้อมูลสิ่งแวดล้อม เช่น คุณภาพอากาศจากกรม คพ. - ข้อมูลสุขภาพ เช่น อาการ โรคจากสถานพยาบาล - ข้อมูลสิ่งแวดล้อม เช่น คุณภาพอากาศจากกรม คพ. - ข้อมูลสุขภาพ เช่น เก็บข้อมูลอาการเจ็บป่วยจากชุมชน

  8. การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงระหว่าง สุขภาพ มลพิษสิ่งแวดล้อม แก้ไข

  9. ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ต้องใช้สถิติความสัมพันธ์ Poisson regression ถึงจะทำให้ข้อมูลที่ได้มาคุ้มค่า และนำผลไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการใช้ แค่เพียงร้อยละหรืออัตราส่วน ซึ่งต้องใช้โปรแกรมSPSS ในการวิเคราะห์

  10. ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม • ไม่เหมาะที่จะทำใหญ่เป็นระบบเดียวในระดับประเทศ เพราะในแต่ละพื้นที่มีมลพิษสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน • ต้องเป็นระบบเฝ้าระวังฯ เฉพาะพื้นที่ ซึ่งต้องมีข้อมูลทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

  11. พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังพิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง

  12. การพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตามวิจัยแบบที่ 1 • ชุมชนมาบชลูดมีประชากรตัวอย่างที่มีอาการปวดศีรษะ และประชากรตัวอย่างที่มีอาการเวียนศีรษะ จำนวนมากกว่าชุมชนอื่น • มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะ มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะ • กรมควบคุมมลพิษตรวจวัด • สารวีโอซีเป็นรายเดือน • กรมควบคุมมลพิษตรวจวัด • สารมลพิษหลัก 5 ชนิด เป็นรายวัน พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง แก้ไข

  13. การพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตามวิจัยแบบที่ 2 • มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะ • ไม่สามารถใช้เครื่อง พีพีบี แร 3000 ตรวจวัดทุกวันไปตลอดปีได้ พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง

  14. การพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตามวิจัยแบบที่ 3 • มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะ มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะ • เครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ (Passive sampler) เสียค่าตรวจสูง ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการเฝ้าระวัง พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง

  15. 1 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ ชุมชนมาบชลูด

  16. ผู้ดำเนินการ • กรมอนามัย • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง • เทศบาลเมืองมาบตาพุด ที่ปรึกษา รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพวิวรรธนะเดช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ที่ให้ความร่วมมือ กรมควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา อสม. แกนนำชุมชน ประชาชนชุมชนมาบชลูด

  17. ชุมชนมาบชลูด ชุมชนมาบชลูด

  18. การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ เชื่อมโยงระหว่าง มลพิษอากาศ อาการสุขภาพ

  19. การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ (การเฝ้าระวังเชิงรุก) สารพื้นฐาน SO2 NO2 O3 CO PM10 สารอินทรีย์ระเหยง่าย (วีโอซี) 9 ชนิด ตามมาตรฐาน ข้อมูลสุขภาพ อาการ 5 ระบบ - ระบบประสาท - ระบบทางเดินหายใจ - ระบบหัวใจและหลอดเลือด - ระบบผิวหนัง - ระบบสายตา

  20. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ชุมชน: มาบชลูด (มีประมาณ 500 หลังคาเรือน) • ประชากร : อายุ 10 ปีถึงคนที่มีอายุที่ยังสามารถ • กรอกข้อมูลได้ • : จำนวน 300 คน ตามความสมัครใจของ • ประชาชน • เก็บข้อมูล : คุณภาพอากาศ อุตุนิยมวิทยา สุขภาพ • ระยะเวลา : 1 ปี

  21. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลคุณภาพอากาศ • - สารวีโอซี 9 ชนิด เดือนละ 1 ครั้ง • - สารพื้นฐาน : SO2 NO2 O3 CO PM10 • ใช้ค่า MAX • ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง

  22. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลบริบท คือ อุตุนิยมวิทยา • - เก็บทุกวัน : ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ์ • ความกดอากาศระดับน้ำทะเล • ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน • อุณหภูมิ ปริมาณฝน • - เก็บเป็นช่วง : ทิศทางลม

  23. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลสุขภาพ - เก็บทุกวัน • - ระบบประสาท • - ระบบทางเดินหายใจ • - ระบบหัวใจและหลอดเลือด • - ระบบผิวหนัง • - ระบบสายตา สมุดบันทึกสุขภาพ ของแต่ละคน เล่มละ 1 เดือน

  24. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลกวน • - เก็บครั้งเดียว : ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในที่อาศัยปัจจุบัน • ภูมิลำเนาเดิม เพศ อายุ อาชีพ • สถานภาพปัจจุบัน การตั้งครรภ์ • โรคประจำตัว สูบบุหรี่ • ระยะห่างระหว่างบ้านกับอู่ซ่อมรถ/ปั๊มน้ำมัน • - เก็บทุกวัน : ป่วย ทานยา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • เครื่องดื่มชูกำลัง ควันธูป สูบบุหรี่ • ควันจากการประกอบอาหาร กลิ่น

  25. การดำเนินการ • 1. ปรึกษาหารือ/วางแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ อสม. • 2.เตรียมชุมชน – อสม. /แกนนำ • ทำความเข้าใจในหลักการเฝ้าระวัง * • ชี้แจงระบบเฝ้าระวังที่จะร่วมกันทำ • ร่วมกันให้ความเห็น/ทำความเข้าใจ/ปรับสมุดสุขภาพ • 3. รวบรวมประชาชนที่จะเฝ้าระวัง • - ประชาชนที่สมัครใจที่จะกรอกข้อมูลสมุดบันทึกสุขภาพ • ได้ 300 คน จาก 500 หลังคาเรือน • 4. เก็บข้อมูล 1 สิงหาคม 2553 – 31 กรกฎาคม 2554 • 5.ประสานขอข้อมูล:กรมอุตุนิยมวิทยาและกรมควบคุมมลพิษ

  26. การเกิดผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวัง ปรอท วีโอซี... สิ่งแวดล้อม สรุปการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อม

  27. สมุดบันทึกสุขภาพ กรมอนามัย สสจ. เทศบาล อสม. กระตุ้นประชาชนกรอกข้อมูลทุกวัน ประชาชน กรอกข้อมูลทุกวัน กรมควบคุมมลพิษ : VOCs 9ชนิด NO2 SO2 O3 CO PM10 อสม.รวบรวม เทศบาลเมือง มาบตาพุด กรมอุตุนิยมวิทยา :ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา การไหลของข้อมูล เว็บไซต์กรมอนามัย กรมอนามัย ลงข้อมูล/วิเคราะห์ แปลผล/รายงาน

  28. ป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรมฯ แสดงผลเป็นกราฟและตัวเลขของข้อมูลที่เลือก วิเคราะห์สถิติอัตโนมัติ การไหลของข้อมูล เว็บไซต์กรมอนามัย กรมอนามัย ลงข้อมูล/วิเคราะห์ แปลผล/รายงาน

  29. 2 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ รอบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ของกรมควบคุมมลพิษ ในจังหวัดระยอง

  30. ผู้ที่ให้ความร่วมมือ ผู้ดำเนินการ • กรมอนามัย • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง • สถานีอนามัยมาบตาพุด ที่ปรึกษา รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพวิวรรธนะเดช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา

  31. การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ เชื่อมโยงระหว่าง มลพิษอากาศ อาการสุขภาพ

  32. กรมควบคุมมลพิษ มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เฝ้าระวังสาร 5 ชนิด คือ PM10 CO NO2 SO2O3 มีผลต่อสุขภาพ

  33. สถานพยาบาลรอบรัศมี 10 กิโลเมตร สถานพยาบาล สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ สถานพยาบาล สถานพยาบาล สอ.มาบตาพุด (นำร่อง)

  34. เป็นระบบเฝ้าระวังเชิงรับเป็นระบบเฝ้าระวังเชิงรับ • ข้อมูลคุณภาพอากาศ 5ชนิด • จากสถานีตรวจวัดคุณภาพ • อากาศของ คพ. • - ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา • ข้อมูลสุขภาพ • จากสถานพยาบาลในรัศมี10 กม. ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ

  35. การป้อนข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมฯ เป็นข้อมูลรายวัน • ข้อมูลคุณภาพอากาศ จากกรมควบคุมมลพิษ - สารมลพิษพื้นฐาน 5 ตัว : PM10CO NO2 SO2O3 • ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา จากกรมอุตุนิยมวิทยา - ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน ความกดอากาศระดับน้ำทะเล อุณหภูมิ ปริมาณฝน ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม ทิศทางลม • ข้อมูลสุขภาพจาก - สถานีอนามัย : อาการ

  36. ข้อมูลสุขภาพ(อาการ)ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศข้อมูลสุขภาพ(อาการ)ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศ • อาการ 21 อาการ ใน 5 ระบบ • ระบบทางเดินหายใจ : คัดจมูก มีน้ำมูก แสบจมูก เลือดกำเดาไหล แสบคอ เสียงแหบ ไอแห้งๆ ไอมีเสมหะ หายใจลำบาก หายใจมีเสียงหวีด • ระบบหัวใจและหลอดเลือด :เหนื่อยง่าย เท้าบวม ชีพจร(หัวใจ)เต้นเร็ว • ระบบประสาท:ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ • ระบบผิวหนัง :คันตามร่างกาย มีผื่นแดงตามร่างกาย • ระบบสายตา :แสบหรือคันตา ตาแดง น้ำตาไหล มองภาพไม่ค่อยชัด

  37. โดยใช้ข้อมูลจำนวนครั้ง (Episodes) ในการเข้ารับบริการที่สถานพยาบาล ข้อมูลสุขภาพ (โรค) ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศ (ไม่ได้ใช้ข้อมูลนี้เพราะเป็นสถานีอนามัย) • โรค 30 โรค ประกอบด้วยระบบ ดังนี้ • โรคระบบการหายใจ • โรคมะเร็ง • ปัญหาของพัฒนาการ • โรคหัวใจและหลอดเลือด • โรคระบบประสาท • โรคระบบภูมิคุ้มกันตนเอง • โรคไต • โรคตับ • โรคระบบโลหิตวิทยา • โรคทางจิตเวช

  38. การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล • ลักษณะของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น • ป้อนข้อมูลสุขภาพ สิ่งแวดล้อม อุตุนิยมวิทยาเป็นข้อมูลรายวัน • แสดงข้อมูลสุขภาพ สิ่งแวดล้อม อุตุนิยมวิทยา เป็นตัวเลข ตามเวลาและสถานที่ต่างๆ • แสดงกราฟเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างข้อมูลสุขภาพกับสิ่งแวดล้อมและอุตุนิยมวิทยา ตามเวลาและสถานที่ต่างๆ ทางหน้าจอผ่าน Website • สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้โดยอัตโนมัติ โดยจะหาความ สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้ แก้ไข

  39. ขั้นตอนการเข้าเวบไซต์ขั้นตอนการเข้าเวบไซต์ • เข้าเว็บไซต์ http://hia.anamai.moph.go.th/hia • เลือก ช่องอากาศ • เลือก แถบบริการข้อมูล ดังรูป

  40. เลือกช่องอากาศ แก้ไข

  41. เลือก แถบบริการข้อมูล แก้ไข

  42. ตัวอย่างการให้บริการข้อมูลตัวอย่างการให้บริการข้อมูล เลือกวัน เวลาที่ต้องการได้ เลือกสถานที่และอาการของโรคที่ต้องการได้ เลือกสถานีตรวจวัด/สารมลพิษ /ค่า Lagที่ต้องการได้ เลือกค่าอุตุนิยมวิทยาที่ต้องการได้

  43. ตัวอย่างกราฟ ที่ได้จากระบบเฝ้าระวังฯ แสดงกราฟเปรียบเทียบระหว่างข้อมูลจำนวนผู้มีปัญหา สุขภาพกับข้อมูลคุณภาพอากาศและข้อมูลอุตุนิยมวิทยา สถานที่ : จังหวัดลำปาง วันที่ 1/01/2010 – 10/01/2010 อาการของโรค : หอบหืด สถานีตรวจวัด : ศาลหลักเมือง สารมลพิษ :PM10 เฉลี่ย 24 ชม. อุตุนิยมวิยา : ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน • ข้อมูลจำนวนผู้มีปัญหาสุขภาพ • ข้อมูลคุณภาพอากาศ • อุตุนิยมวิทยาฯ

  44. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศการพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ • เนื่องจากการดูความสัมพันธ์ของข้อมูลสุขภาพกับข้อมูลสิ่งแวดล้อมค่อนข้างซับซ้อน จึงจำเป็นต้องวิเคราะห์เพิ่มเติมจากข้อมูลที่ได้จากโปรแกรม จึงจะทราบผลของความสัมพันธ์ • ขณะนี้อยู่ในระหว่างการรวบรวมและป้อนข้อมูล • ในส่วนข้อมูลคุณภาพอากาศและข้อมูลอุตุนิยมวิทยา กรมอนามัยเป็นผู้ป้อนข้อมูล • ข้อมูลอาการสุขภาพ สถานีอนามัยมาบตาพุดเป็นผู้ป้อนข้อมูล

  45. ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเฝ้าระวังฯนี้ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเฝ้าระวังฯนี้ 1) เจ้าของพื้นที่ทราบผลการเฝ้าระวังได้ เมื่อกรอกข้อมูล สุขภาพเสร็จ 2) ทำให้นำผลที่ได้ไปรายงานและแก้ไขปัญหาได้เร็ว 3) เป็นการแก้ไขปัญหา การ Make ข้อมูล 4) ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสามารถดูข้อมูลได้ 5) ช่วยประหยัดเวลาเพราะมีโปรแกรมช่วยวิเคราะห์ได้

  46. 1. พัฒนาคู่มือการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2. พัฒนาโปรแกรมรองรับระบบเฝ้าระวังฯ/คู่มือใช้งานเว็บไซต์ 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ศูนย์อนามัย / สสจ.นำร่อง เป็นระยะๆ โดยให้ความรู้ในเรื่อง การเฝ้าระวัง ระบาดวิทยาและสถิติขั้นสูงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การใช้โปรแกรมฯ การดำเนินงานเพื่อสนับสนุน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ

  47. 4. การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง :คพ. กรมอุตุนิยมวิทยา 5. ต่อไปจะพัฒนาโปรแกรมเชื่อมโยงระหว่างระบบข้อมูล ระหว่างระบบสุขภาพด้วยกัน ระหว่างระบบสุขภาพกับระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานเพื่อสนับสนุน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ

  48. สสจ. ให้คำปรึกษาและควบคุมดูแล วิเคราะห์/แปลผล/รายงาน/แก้ไข สอ.ป้อนข้อมูลอาการ วิเคราะห์/แปลผล/รายงาน/แก้ไข ประชาชน วิเคราะห์/ แปลผล/รายงาน/แก้ไข หน่วยงานอื่น วิเคราะห์/แปลผล/รายงาน/แก้ไข เว็บไซต์กรมอนามัย กรมควบคุมมลพิษ : VOCs 9ชนิด PM10 NO2 SO2 O3 CO กรมอนามัย ลงข้อมูล/วิเคราะห์ แปลผล/รายงาน กรมอุตุฯ : ข้อมูลอุตุฯ การไหลของข้อมูล

  49. ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ ในชุมชนมาบชลูด (ต่อเนื่อง) - สารพื้นฐาน 5 ชนิด (ข้อมูลรายวัน) • - สารวีโอซี 9 ชนิด (ข้อมูลรายเดือน) • ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ ในชุมชนโสภณ (เริ่มใหม่) • - สารพื้นฐาน 5 ชนิด (ข้อมูลรายวัน) • - สารวีโอซี 4 ชนิด (BTEX ข้อมูลรายวัน) การดำเนินงานระบบเฝ้าระวังฯ ปีงบประมาณ 2554

  50. 3. ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ รอบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ในจังหวัดระยอง (ขยายพื้นที่/เพิ่มสาร BTEX) - สารพื้นฐาน 5 ชนิด (ข้อมูลรายวัน) - สาร BTEX (ข้อมูลรายวัน) - สถานพยาบาล -- รพ.มาบตาพุด -- สอ.มาบตาพุด -- ศูนย์บริการสาธารณสุขตากวน -- ศูนย์บริการสาธารณสุขเกาะกก -- ศูนย์บริการสาธารณสุขเนินพยอม การดำเนินงานระบบเฝ้าระวังฯ ปีงบประมาณ 2554

More Related