1 / 18

วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 ( Plant Physiology )

วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 ( Plant Physiology ). 29 มิถุนายน 2552. การสังเคราะห์ด้วยแสง ( Photosynthesis ). การสังเคราะห์ด้วยแสง. แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ซึ่งเกิดต่อเนื่องกันในคลอโรพลาสต์

Télécharger la présentation

วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 ( Plant Physiology )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาสรีรวิทยาของพืช1202 320(Plant Physiology) 29 มิถุนายน 2552

  2. การสังเคราะห์ด้วยแสง(Photosynthesis)การสังเคราะห์ด้วยแสง(Photosynthesis)

  3. การสังเคราะห์ด้วยแสง แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ซึ่งเกิดต่อเนื่องกันในคลอโรพลาสต์ 1.ปฏิกิริยาแสง (light reaction) ใช้พลังงานแสงผลักดันให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากน้ำไปยัง NADP+ ได้ NADPHและ ATP

  4. 2.ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง (dark reaction) ใช้ NADPH และATP ตรึง CO2เปลี่ยนให้เป็นน้ำตาล

  5. ที่มา : http://www.pearsonsuccessnet.com/snpapp/iText/products/0-13-115075-8/text/chapter8/08images/08-04.gif

  6. ปฏิกิริยาแสง เปลี่ยนรูปพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี แสง ที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ ช่วงแสงที่มีความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร

  7. - แสง ประกอบด้วยอนุภาคพลังงานที่เรียกว่า “โฟตอน” (photon) - พลังงานของโฟตอนแปรผกผันกับความยาวคลื่น

  8. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์

  9. พลังงานแสงถูกดูดกลืนโดย “รงควัตถุ” 3 กลุ่ม คือ - คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) - คาโรทีนอยด์ (caroteniods) - ไฟโคบิลิน (phycobilin)

  10. คลอโรฟิลล์ • คลอโรฟิลล์ดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและสีแดงได้มากที่สุด • คลอโรฟิลล์ดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยมาก

  11. คาโรทีนอยด์ • พบมากในเนื้อเยื่อที่มีสีเหลือง ส้ม แดง • ถ่ายทอดพลังงานให้คลอโรฟิลล์ • ปกป้องคลอโรฟิลล์ และองค์ประกอบอื่นๆ

  12. ไฟโคบิลิน • พบเฉพาะในสาหร่ายสีแดง และสาหร่าย สีน้ำเงินแกมเขียว

  13. โมเลกุลของรงควัตถุถูกกระตุ้นโดยพลังงานแสงได้อย่างไร ?? • รงควัตถุที่ไม่ได้รับแสง อิเล็กตรอนในโมเลกุล จะมีระดับพลังงานต่ำที่สุด เรียกว่า “ โมเลกุล อยู่ในสภาวะพื้น ” (ground state)

  14. - เมื่อโมเลกุลของรงควัตถุดูดกลืนพลังงานจากแสงหนึ่งโฟตอน จะทำให้ โมเลกุลอยู่ในสภาวะตื่นตัว หรือสภาวะกระตุ้น (excited state)

  15. - โมเลกุลจะอยู่ในสภาพกระตุ้นเพียง 10-9 วินาที อิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกไปเพื่อกลับสู่สภาวะพื้น

  16. การคายพลังงานรูปแบบต่างๆการคายพลังงานรูปแบบต่างๆ • การคายพลังงานออกมาในรูปความร้อน • การคายพลังงานในรูปของแสง

  17. 3. การถ่ายทอดพลังงานไปให้รงควัตถุข้างเคียง 4. คลอโรฟิลล์ที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยา จะเปลี่ยนสภาพกลับสู่สภาวะพื้นโดยการสูญเสียอิเล็กตรอนออกไป

  18. http://highered.mcgraw-hill.com/sites/dl/free/0072437316/120072/bio13.swfhttp://highered.mcgraw-hill.com/sites/dl/free/0072437316/120072/bio13.swf

More Related