1 / 30

โดย เดชนะ สิโรรส ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

โดย เดชนะ สิโรรส ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. การเขียนแผนธุรกิจ. หลักสูตร "เสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่" ( New Entrepreneurs Creation : NEC). การเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการใหม่ และการวิเคราะห์โอกาสการลงทุนทางธุรกิจ

dacey
Télécharger la présentation

โดย เดชนะ สิโรรส ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดย เดชนะ สิโรรสศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม การเขียนแผนธุรกิจ

  2. หลักสูตร "เสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่" (New Entrepreneurs Creation : NEC) • การเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการใหม่และการวิเคราะห์โอกาสการลงทุนทางธุรกิจ • การบริหารจัดการด้านการตลาด • การบริหารจัดการด้านเทคนิคปฎิบัติการ (การผลิต การบริการ และโซ่อุปทาน) • การบริหารองค์กรและบุคลากร และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ • การบริหารการเงิน และการจัดการด้านการบัญชี • การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ

  3. ผู้ประกอบการ

  4. ผู้ประกอบการ A person who creates a new business in the face of risk and uncertainty for the purpose of achieving profit and growth by identifying opportunities and assembling the necessary resources to capitalize on those opportunities. บุคคลที่เริ่มต้นกิจการใหม่ ต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงและความไม่แน่นอน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์คือกำไรและการเติบโตของกิจการ โดยต้องมองทะลุถึงโอกาสทางธุรกิจต้องรวบรวมทรัพยากรอันจำเป็นในการดำเนินธุรกิจเพื่อเป็นทุนให้ได้มาซึ่งโอกาสทำกำไรและความสำเร็จ Zimmerer and Scarborough (2005)

  5. The Entrepreneurial Mindหัวใจ (ความรู้สึก) และสายตา (มุมมอง) ของเจ้าของกิจการ 1. บากบั่นให้ถึงจุดหมาย ผลักดันตนเองและผู้อื่นอย่างยิ่งยวด 2. เป็นตัวของตัวเอง ไม่มีใครเหมือน ไม่เหมือนใคร ยึดมั่น พึ่งพาตนเอง และเป็นอิสระจากข้อจำกัดทั้งหลาย 3. แนวแน่มั่นคง ส่งต่อความรู้สึกแน่วแน่มั่นคงนี้ ไปถึงทุกคนที่ร่วมทำธุรกิจด้วยกันใช้กลยุทธ์แบบตื่นตัวเอาใจใส่ ซึ่งจะคงอยู่ถาวรสืบเนื่องไปตลอดอายุของธุรกิจ 4. มีสติปัญญาเป็นอาวุธ คิดเร็ว ทำเร็ว ซึ่งบางครั้งขาดการทบทวนอย่างรอบคอบ 5. รักษาระยะห่างและคงไว้ซึ่งจุดหมาย คาดหวังให้ลูกจ้างทำงานได้ด้วยตัวเองและจิตใจที่แข็งแกร่ง ที่มา: ดัดแปลงจาก ids.csom.umn.edu/faculty/afine/management5177spring2002/ lecture%201.ppt “คุณลักษณะเฉพาะ 10 ประการ ที่ทำให้เจ้าของกิจการแตกต่างจากผู้จัดการ รวบรวมจาก 500 บริษัท”

  6. The Entrepreneurial Mindหัวใจ (ความรู้สึก) และสายตา (มุมมอง) ของเจ้าของกิจการ (ต่อ) 6. แก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่ปฏิบัติได้ง่ายๆ ตัดตอนความยุ่งยากทั้งหลาย แสวงหาข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น ขจัดทิ้งเรื่องไม่เป็นเรื่อง 7. เต็มใจจะเสี่ยง พอใจที่จะทำงานใหม่ๆ แม้ว่าจะไม่ชัดเจน ไม่แน่นอน หรือกล้าที่จะทดลองโครงการที่ทำท่าว่าจะให้ผลตอบแทนมากและเร็ว 8. ใส่ใจ (ตาดูหูฟัง พร้อมอยู่เสมอ) เมื่อมีความคิดเห็นที่ชัดเจนและแนวทางที่เหมาะสม จะตัดสินใจอย่างรวดเร็ว จริงจัง คาดหวังต่อตนเองและผู้อื่นสูง 9. มุ่งเน้นที่การปฏิบัติ ไม่ทนรอผล ไม่รอคนอื่น แต่จะผลักดันแนวทางแบบ “ทำทันที” 10. แสวงหาสมดุลย์และความสำเร็จสูงสุดของบุคคล มองโลกในแง่ดีและคิดเชิงบวก สื่อสารแบบให้กำลังใจ สร้างสรรค์และสร้างความหวัง มักจะมองเห็นช่องว่างแห่งโอกาส (แก้วที่มีน้ำครึ่งเดียว) อยู่เสมอ และต้องการครอบครองช่องวางโอกาสนั้น ที่มา: ดัดแปลงจาก ids.csom.umn.edu/faculty/afine/management5177spring2002/ lecture%201.ppt “คุณลักษณะเฉพาะ 10 ประการ ที่ทำให้เจ้าของกิจการแตกต่างจากผู้จัดการ รวบรวมจาก 500 บริษัท”

  7. ข้อดีของการเป็นผู้ประกอบการข้อดีของการเป็นผู้ประกอบการ เป็นโอกาสที่จะ: • ลิขิตชีวิตของตนเอง • สร้างเอกลักษณ์แห่งตน • ใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ • เก็บเกี่ยวกำไรอย่างเต็มที่ • มอบคืนแก่สังคมและความมุ่งมั่นของคุณเป็นที่จดจำ • ทำในสิ่งที่อยากทำและสนุกกับสิ่งที่ทำ

  8. ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการ • รายได้ไม่แน่นอน • เสี่ยงที่จะสูญเงินลงทุนทั้งหมด • ทำงานหนักทำงานนาน • คุณภาพชีวิตต่ำจนกว่าธุรกิจจะอยู่ตัวแล้ว • ความเครียดสูง • ต้องรับผิดชอบทั้งหมดแต่เพียงผู้เดียว • หมดกำลังใจได้ง่าย ลักษณะและขีดความสามารถของผู้ประกอบการ

  9. รู้จักวิธีการสร้างกำไรรู้จักวิธีการสร้างกำไร “ในปัจจุบันไม่พอที่จะเห็นเพียงโอกาสธุรกิจแต่จำเป็นจะต้องรู้ว่ากำไรของธุรกิจอยู่ที่ไหน และจะเข้าถึงกำไรนั้นได้อย่างไร” ที่มา : จากการบรรยายของ รศ.ดร.ไว จามรมาน (2547)

  10. วิธีการสร้างกำไร • กำไรไม่ได้อยู่ที่เดิม เปลี่ยนที่อยู่ใหม่ ต้องรู้ความต้องการสินค้าใหม่ที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า • ค้นหาช่องว่างและเสนอเงื่อนไขใหม่ให้กับลูกค้า เช่น ยิ่งซื้อยิ่งแถม ยิ่งซื้อยิ่งลด เพื่อทำให้ลูกค้าเปลี่ยนใจ • แย่งลูกค้าจากตลาดกลางไปยังตลาดบน หรือตลาดล่างโดยให้ผลประโยชน์ด้านราคาหรือคุณภาพอย่างชัดเจนขึ้น หรือคือการแบ่งแยกตลาดให้ชัดเจน • สร้างกำไรโดยกำหนดมาตรฐานก่อนคนอื่น หรือพยายามเปลี่ยนแปลง / ยกระดับมาตรฐานขึ้นใหม่ • สร้างกำไรโดยใช้เทคโนโลยี ไล่ตามเทคโนโลยี • สร้างกำไรโดยการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน เช่น จากทำงานครบวงจรมาเป็นเลือกเฉพาะส่วนที่มีกำไร ที่มา : จากการบรรยายของ รศ.ดร.ไว จามรมาน (2547)

  11. วิธีการสร้างกำไร • สร้างกำไรโดยการเปลี่ยนแปลงเร็วกว่าคนอื่นอยู่เสมอ • สร้างกำไรโดยการแก้ไขในส่วนที่คนอื่นทำไม่สำเร็จ • สร้างกำไรโดยการรู้จักเลือกลูกค้า มุ่งเฉพาะลูกค้าที่ให้กำไร • สร้างกำไรโดยการแบ่งกลุ่มลูกค้าย่อยมากขึ้นและเสนอสินค้าที่หลากหลาย (Tweens 9-16 not a girl, not yet a woman, not a boy, not yet a man) • สร้างกำไรโดยการเพิ่มหรือเลือกช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่ • สร้างกำไรโดยการสร้างยี่ห้อสินค้า • สร้างกำไรโดยการหันมามองสินค้า ซึ่งสามารถกลับมาทำกำไรได้หลายครั้ง ที่มา : จากการบรรยายของ รศ.ดร.ไว จามรมาน (2547)

  12. แนวคิดการจัดทำแผนธุรกิจแนวคิดการจัดทำแผนธุรกิจ • ทำธุรกิจอะไร? ระบุธุรกิจออกมา 1 ธุรกิจ • ระบุตัวสินค้า บริการ ออกมาให้ชัดเจน ขายอะไร? • ลูกค้าซื้อแล้วจะได้อะไร ? คุณค่าที่จะส่งมอบคืออะไร • เราจะมีชั้นเชิงการแข่งขันในธุรกิจอย่างไร? • กระบวนการทางธุรกิจเป็นอย่างไร ? • ต้องใช้ทรัพยากรเท่าๆไร? ลงทุนเท่าไร? • จะหาเงินลงทุนอย่างไร ? • ดำเนินธุรกิจแล้วจะเกิดอะไรขึ้น ผลจะเป็นอย่างไร?

  13. แผนธุรกิจ (Business Plan) คือแผนงานทางธุรกิจที่แสดงกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องปฏิบัติในการลงทุนประกอบการ โดย • มีจุดเริ่มต้นจากจะผลิตสินค้าและบริการอะไร • มีกระบวนการปฏิบัติอย่างไรบ้าง และ • ผลจากการปฏิบัติออกมาได้มากน้อยแค่ไหน • ใช้งบประมาณและกำลังคนเท่าไร พื่อให้เกิดเป็นสินค้าและบริการแก่ลูกค้า และ • จะบริหารธุรกิจอย่างไรธุรกิจจึงจะอยู่รอด แหล่งที่มา: มาณพ ชิวธนาสุนทร, แผนธุรกิจ SMEs, สำนักพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม, 2547

  14. จะเขียนแผนธุรกิจให้ใครอ่านจะเขียนแผนธุรกิจให้ใครอ่าน ความคาดหวัง ธนาคาร ความสามารถในการชำระคืน, หลักทรัพย์ นักลงทุน ความเป็นไปได้ ความคุ้มค่าในการลงทุน สถาบันการเงินภาครัฐ นโยบายภาครัฐ เกณฑ์การให้เงินสนับสนุน ผู้ถือหุ้น / พนักงาน ผลประกอบการ ทิศทางขององค์กร พันธมิตรธุรกิจ ทิศทางขององค์กร แนวทางความร่วมมือ กรรมการประกวดแผน เข้าเกณฑ์ตามที่กำหนด

  15. แผนธุรกิจเป็นเสมือนเครื่องมือในการสื่อสารแผนธุรกิจเป็นเสมือนเครื่องมือในการสื่อสาร • ธุรกิจนี้คือธุรกิจอะไร? • ธุรกิจนี้มีการบริหารจัดการอย่างไร? • ธุรกิจนี้มีสินค้าและบริการอะไร? • ธุรกิจนี้ทำการตลาดและการขายอย่างไร? • ธุรกิจนี้มีผลประกอบการเป็นอย่างไร?

  16. องค์ประกอบของแผนธุรกิจองค์ประกอบของแผนธุรกิจ ธุรกิจ ศักยภาพ+โอกาสที่มองเห็น +ความเป็นไปได้ บริการ คุณค่าที่จะมอบให้ ซื้อมา-ขายไป ผลิต แผนการตลาด • งบการเงิน • งบดุล • งบกำไรขาดทุน • งบกระแสเงินสด แผนการผลิต หรือบริการ แผนการบริหารจัดการ แผนการเงิน

  17. แนวคิดธุรกิจ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ แผนการตลาด แผนการจัดการ แผนการผลิต/บริการ ที่ตั้ง อาคาร ขั้นตอนการผลิต/บริการ สินค้าอะไร ขายให้ใคร ขายที่ไหน ขายอย่างไร ราคาเท่าไหร่ ตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การแข่งขัน ผังองค์กร ตำแหน่งงาน เงินเดือน ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ที่ดิน อุปกรณ์สนง... ปี xx = xxx,xxx บาท ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ที่ดิน เครื่องจักร... ปี xx = xxx,xxxบาท ประมาณการค่าใช้จ่ายการผลิต (ซื้อซอฟท์แวร์) ปี x1 จำนวน yyชิ้น ชิ้นละ zz = x,xxxบาท ปี x2 จำนวน yyชิ้น ชิ้นละ zz = x,xxxบาท ประมาณการยอดขาย (5 ปี) ปี x1 จำนวน yy ชิ้น ชิ้นละ zz = xxx,xxx บาท ปี x2 จำนวน yy ชิ้น ชิ้นละ zz = xxx,xxx บาท ประมาณการต้นทุนดำเนินการเงินเดือน เงินเดือนผู้บริหารปี xx = x,xxxบาท เงินเดือนสำนักงาน xx = x,xxxบาท ประมาณการค่าใช้จ่ายทางการตลาด โฆษณา ประชาสัมพันธ์ ส่วนลดการตลาด จ้างพนักงานขาย ตกแต่งหน้าร้าน ปี xx = xxx,xxxบาท ประมาณการค่าใช้จ่ายสำนักงาน โสหุ้ย x,xxxบาท วัสดุสำนักงาน x,xxxบาท ประมาณการค่าใช้จ่ายการผลิต โสหุ้ยการผลิต x,xxxบาท ค่าแรง x,xxxบาท แผนการเงิน

  18. แผนการเงิน รายได้ค่าใช้จ่าย - แผนตลาด เงินทุนที่ต้องใช้ และแหล่งเงินทุน ส่วนของเจ้าของ ค่าใช้จ่าย – แผนผลิต/บริการ สถาบันการเงิน ค่าใช้จ่าย - แผนการจัดการ วงเงินกู้ ดอกเบี้ย กำหนดชำระคืน งบกำไรขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เงื่อนไขทางการค้า เครดิต ล/น, จ/น, stock ทบทวนกลยุทธ์ แผนตลาด, ผลิต/บริการ ,จัดการ การเงิน (แหล่งเงินทุน) อัตราส่วนทางการเงิน เทียบคู่แข่ง อุตสาหกรรมเดียวกัน พอใจ ไม่พอใจ แผนธุรกิจ

  19. แผนการเงิน ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุนจากแหล่งต่างๆ ( จะใช้เงินเท่าไหร่ หามาจากไหน) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ เพื่อช่วยในการตัดสินใจลงทุน การให้สินเชื่อ ช่วยในการตัดสินใจในกำหนดทิศทางขององค์กร การวางกลยุทธ์ในด้านการตลาด การผลิต/บริการ การจัดการ การวางแผนเตรียมรับกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและทันเวลา

  20. ประโยชน์ของการวางแผนธุรกิจประโยชน์ของการวางแผนธุรกิจ สำหรับเจ้าของกิจการ • กำหนดเป้าหมายในการลงทุน • กำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินการ • สามารถเผชิญกับปัญหา / แก้ปัญหาได้ • กำหนดอนาคตกิจการ โดยศึกษาแนวคิดบนกระดาษ เป็นการประหยัดและลดความเสี่ยง

  21. ปัจจัยที่จะช่วยให้ธุรกิจใหม่ประสบความสำเร็จปัจจัยที่จะช่วยให้ธุรกิจใหม่ประสบความสำเร็จ • ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตลาดและลูกค้าอย่างเพียงพอ • สินค้าหรือบริการที่มีคุณค่าและจุดเด่นเหนือคู่แข่งขันในต้นทุนที่เหมาะสม • กลยุทธ์หรือวิธีการแข่งขันที่ชัดเจน • เงินลงทุนที่เพียงพอ • จังหวะเวลาที่เหมาะสม

  22. ข้อควรระวังในการวางแผนข้อควรระวังในการวางแผน • ต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลความเป็นจริง และแสวงหาแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และคำแนะนำจากภายนอก • มีความยืดหยุ่น ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดและลูกค้า • ต้องคาดหมายเหตุการณ์ หรืออุปสรรคต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ • ต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์

  23. ผลงานของกลุ่มผู้ประกอบการคือ แผนธุรกิจคนละ 1 เล่ม • 4.6การนำเสนอแผนธุรกิจ ที่ปรึกษาจัดให้ผู้รับการอบรมนำเสนอแผนธุรกิจรายบุคคล โดยจัดให้มี “คณะกรรมการประเมินแผนธุรกิจ”ซึ่งประกอบด้วย ผู้ชำนาญการด้านการเงิน ผู้ชำนาญด้านการตลาด การผลิตและปฏิบัติการ การบริหารองค์กรและทรัพยากรบุคคล และผู้แทนกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เพื่อรับฟังการนำเสนอแผนธุรกิจและให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมและความสมบูรณ์ของแผนธุรกิจ ตลอดจนประเด็นที่อาจเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการจัดตั้งธุรกิจเพื่อใช้ประโยชน์ในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือต่อเนื่องต่อไป ทั้งนี้ ที่ปรึกษาต้องติดตามและรวบรวมแผนธุรกิจรายบุคคลภายหลังการปรับปรุงแก้ไขนำส่งกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นรูปเล่ม หรือบันทึกลงในแผ่น CD รุ่นละ 1ชุด

  24. Business Model

  25. Business Model โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ (INFRASTRUCTURE) สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า (OFFER) ลูกค้า (CUSTOMER) การเงิน (FINANCE) a business model describes the value an organization offers to various customers and portrays the capabilities and partners required for creating, marketing, and delivering this value and relationship capital with the goal of generating profitable and sustainable revenue streams ที่มา http://business-model-design.blogspot.com

  26. Business Model โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ (INFRASTRUCTURE) สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า (OFFER) ลูกค้า (CUSTOMER) PARTNER NETWORK CUSTOMER RELATIONSHIP เครือข่ายพันธมิตรธุรกิจ สินค้า หรือบริการที่สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ความสัมพันธ์กับลูกค้า กลุ่มลูกค้าที่มีคุณลักษณะตรงกับสินค้าหรือบริการ ความสามารถทางธุรกิจ วิธีการจัดจำหน่ายที่สร้างความสะดวกให้ลูกค้า วิธีจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างคุณค่า CORE CAPABILITIES TARGET CUSTOMER VALUE PROPOSITION VALUE CONFIGURATION DISTRIBUTION CHANNEL การเงิน (FINANCE) โครงสร้างของต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ วิธีการหรือที่มาของรายได้ของธุรกิจ COST STRUCTURE REVENUE STREAMS a business model describes the value an organization offers to various customers and portrays the capabilities and partners required for creating, marketing, and delivering this value and relationship capital with the goal of generating profitable and sustainable revenue streams ที่มา http://business-model-design.blogspot.com

  27. Business Model โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ (INFRASTRUCTURE) • CORE CAPABILITIES ความสามารถและปัจจัยสำคัญในการดำเนินการของธุรกิจสำหรับ Business Model ที่ธุรกิจกำหนดขึ้น • PARTNER NETWORK เครือข่ายความร่วมมือระหว่างธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือบุคคลภายนอก ที่จำเป็นในการดำเนินการในการสร้างคุณค่าของธุรกิจ สินค้า หรือบริการอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ผู้ออกแบบ ผู้ผลิตสินค้า ผู้พัฒนาและวิจัย ผู้ผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ของสินค้าหรือบริการ เป็นต้น • VALUE CONFIGURATIONวิธีการในการจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจ เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากร เงินทุน รวมถึงกิจกรรมในการ ดำเนินการต่างๆ ของธุรกิจที่กำหนดขึ้น ในการสร้างคุณค่าของธุรกิจ สินค้าหรือบริการของธุรกิจให้เป็นที่ยอมรับต่อลูกค้า PARTNER NETWORK เครือข่ายพันธมิตรธุรกิจ ความสามารถทางธุรกิจ วิธีจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างคุณค่า CORE CAPABILITIES VALUE CONFIGURATION

  28. Business Model สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า (OFFER) • VALUE PROPOSITION สินค้าหรือบริการของธุรกิจสามารถสร้างอรรถประโยชน์ (Utility) หรือสามารถตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ให้กับลูกค้าได้อย่างไร สินค้า หรือบริการที่สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า VALUE PROPOSITION

  29. Business Model ลูกค้า (CUSTOMER) • CUSTOMER RELATIONSHIPวิธีการที่ธุรกิจทำการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับลูกค้าแต่ละกลุ่ม การบริหารจัดการความสัมพันธ์ การรักษาลูกค้าเพื่อความยั่งยืนของธุรกิจ • DISTRIBUTION CHANNELวิธีการในการที่ธุรกิจจะเข้าตลาด ซึ่งจะรวมความถึงการดำเนินการทางการตลาดและกลยุทธ์ในการกำหนดช่องทางจัดจำหน่ายที่ สร้างความสะดวกให้กับลูกค้าเป้าหมาย • TARGET CUSTOMER กลุ่มลูกค้าที่มีลักษณะเฉพาะหรือมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสินค้าหรือบริการของธุรกิจ ในการที่จะสร้างอรรถประโยชน์ (Utility) หรือสามารถตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ของธุรกิจ สินค้าหรือบริการให้กับลูกค้าได้ CUSTOMER RELATIONSHIP ความสัมพันธ์กับลูกค้า กลุ่มลูกค้าที่มีคุณลักษณะตรงกับสินค้าหรือบริการ วิธีการจัดจำหน่ายที่สร้างความสะดวกให้ลูกค้า TARGET CUSTOMER

  30. Business Model การเงิน (FINANCE) โครงสร้างของต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ วิธีการหรือที่มาของรายได้ของธุรกิจ • COST STRUCTURE โครงสร้างของต้นทุนค่าใช้จ่ายๆ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดำเนินการของธุรกิจ • REVENUE STREAMS วิธีการหรือที่มาของรายได้ของธุรกิจ COST STRUCTURE REVENUE STREAMS

More Related