1 / 82

การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ

การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ. ดร. ชนาธิป ทุ้ยแป สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย ?. สนุกกับการทำงาน. กำลังเรียนครู. เริ่มบรรจุ. เกษียณ อายุ ราชการ. 1. ใกล้เกษียณ. 2. 3. 4. 5.

dale
Télécharger la présentation

การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ ดร.ชนาธิป ทุ้ยแปสำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

  2. ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย?ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย? สนุกกับการทำงาน กำลังเรียนครู เริ่มบรรจุ เกษียณอายุราชการ 1 ใกล้เกษียณ 2 3 4 5

  3. การประเมินในระบบการศึกษาไทยการประเมินในระบบการศึกษาไทย PISA & TIMSS การประเมินระดับนานาชาติ การประเมินระดับชาติ ONET & NT การประเมินระดับเขตพื้นที่ LAS การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินภายใน&ภายนอก การทดสอบในชั้นเรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การทดสอบระดับชั้นเรียน

  4. การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) กับ การทดสอบในชั้นเรียน (Classroom Assessment) เนื้อหาทั่วไป การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) Free content Based assessment เนื้อหาตามตัวชี้วัด การทดสอบระดับชั้นเรียน(Classroom) content Based assessment

  5. ข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปีข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปี ระดับชั้น ป.2, 4-5 และ ม.1-2 ภาษาไทย ป.2 กลุ่มสาระ ป.4-5 ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / สังคมศึกษาฯ / ภาษาต่างประเทศ ม.1-2

  6. ระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลางระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลาง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน คะแนนสอบปลายภาค - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลาง (สพฐ.) (20 %) ข้อสอบของโรงเรียน/ เขตพื้นที่ (80 %)

  7. O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง สอดคล้อง L (Learning) การจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน E (Evaluation) การประเมินอิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง

  8. องค์ประกอบที่ 1เป้าหมายการเรียนรู้ (Objective)

  9. มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

  10. มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน • อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง • อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน • ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน • .................. • มีมารยาทในการอ่าน ภาษาไทย ป.2

  11. มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล • ปฏิบัติตามคำสั่ง และคำขอร้องง่าย ๆ ที่ฟัง • ระบุตัวอักษรและเสียง อ่านออกเสียงคำ สะกดคำ และอ่านประโยคง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน • เลือกภาพตรงตามความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยคที่ฟัง • ตอบคำถามจากการฟังประโยคบทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ ที่มีภาพ ประกอบ อังกฤษ ป.2

  12. สมองทำงานอย่างไร

  13. ทดสอบการทำงานของสมอง อ่านคำต่อไปนี้ แล้วพูดสีของตัวอักษรของแต่ละคำ เหลือง น้ำเงิน ส้ม ดำ แดง ดำ เหลือง เขียว ม่วง ส้ม เขียว น้ำเงิน เหลือง ดำ น้ำเงิน เขียว

  14. การทดสอบว่าเราใช้สมองซีกไหนในการรับ-ส่งข้อมูลกันบ้างการทดสอบว่าเราใช้สมองซีกไหนในการรับ-ส่งข้อมูลกันบ้าง การกอดอก • คนที่เอาแขนซ้ายไว้ด้านบน คือ คนที่ใช้สมอง ซีกขวาเป็นหลักในการรับส่งข้อมูล (ภาษา การให้เหตุผลและการวิเคราะห์) • คนที่เอาแขนขวาไว้ด้านบน คือ คนที่ใช้สมอง ซีกซ้ายเป็นหลักในการรับส่งข้อมูล (สร้างสรรค์)

  15. การทดสอบว่าเราใช้สมองซีกไหนในการรับ-ส่งข้อมูลกันบ้างการทดสอบว่าเราใช้สมองซีกไหนในการรับ-ส่งข้อมูลกันบ้าง การประสานมือ เอามือทั้ง 2 ข้างประกบกันเหมือนพนมมือ แล้วกำนิ้วมือลงมาให้นิ้วแต่ละข้างไปอยู่บนหลังมือของอีกข้างหนึ่ง ลักษณะเหมือนการอ้อนวอนพระเจ้าของศาสนาคริสต์ หรือคล้ายการเล่นวอลเล่ย์บอล • คนที่ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างซ้ายอยู่ด้านบนของนิ้วหัวแม่มือด้ายขวา คือ คนที่ใช้สมองซีกขวาเป็นหลักในการรับข้อมูล (สร้างสรรค์) • คนที่ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างขวาอยู่ด้านบนของนิ้วหัวแม่มือด้านซ้าย คือ คนที่ใช้สมองซีกซ้ายเป็นหลักในการรับข้อมูล (เหตุผลและการวิเคราะห์)

  16. องค์ประกอบที่ 2การจัดการเรียนรู้ (Learning)

  17. หลักสูตรเดิม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เน้น เน้น เนื้อหา มฐ./ตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตร 51

  18. องค์ประกอบที่ 3การวัดและประเมินผล (Evaluation)

  19. ขั้นตอนการสร้างข้อสอบขั้นตอนการสร้างข้อสอบ กำหนดกรอบในการประเมิน วิเคราะห์มาตรฐาน แผนผังแบบสอบ การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ/แบบสอบ นำข้อสอบทดลองใช้ เขียนข้อสอบ ปรับปรุง/บรรณาธิการกิจ ข้อสอบ/แบบสอบ ตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา การตรวจสอบภาษา/ ความถูกต้องตามหลักการวัดผล นำข้อสอบไปใช้/ เก็บเข้าคลังข้อสอบ

  20. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน

  21. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

  22. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้)การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้) มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

  23. มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่ต้องการแสดง

  24. การทดสอบ • การสัมภาษณ์ • การสังเกตพฤติกรรม • การตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ วิธีการในการวัด และประเมินผล วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล • แบบทดสอบ • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกตพฤติกรรม • แบบบันทึกผลการตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ เครื่องมือในการวัดและประเมินผล

  25. การกำหนกกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนกกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)

  26. รูปแบบข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์- แบบเลือกตอบ- แบบเขียนตอบ

  27. รูปแบบข้อสอบเลือกตอบ

  28. 1. แบบคำตอบเดียว (multiple choice) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว

  29. 1. แบบคำตอบเดียว (multiple choice) อึ่งอ่างตัวหนึ่งอาศัยอยู่ริมบึง มันนึกว่าตัวเองเก่งกว่าใคร ๆ วันหนึ่งอึ่งอ่างขึ้นมานอนผึ่งแดดอยู่ริมบึง มันได้ยินเสียงผึ้งบินมา อึ่งอ่างอยากสู้กับผึ้งจึงดึง ใบบัวมาบังตัว พอผึ้งมากินน้ำที่ริมบึง มันก็แลบลิ้นจะทำร้ายผึ้ง ผึ้งรู้ว่าถูกอึ่งอ่างเล่นงาน จึงใช้เหล็กในต่อย อึ่งอ่างรู้สึกปวดลิ้นมาก มันสำนึกผิดที่คิดทำร้ายผึ้ง ผึ้งจึงช่วยดึงเหล็กในออกให้ อึ่งอ่างซาบซึ้งและไม่อวดเก่งอีกเลย 9. ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน สามารถนำไปใช้ในเรื่องใด 1) ถ้ามีภัยมาถึงตัวต้องยอมรับ 2) ถ้าจะสู้กับใครต้องมีความมั่นใจ 3) ถ้าถูกทำร้ายต้องป้องกันตัวเอง 4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข ตัวอย่างข้อสอบ NT ด้านภาษา (Literacy) คำตอบตัวเลือก 4

  30. ตัวอย่างข้อสอบ PISA & TIMSS

  31. 2. แบบเลือกหลายคำตอบ (Multiple-selection) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีข้อคำถามเอื้อให้คิดคำตอบได้หลากหลายคำตอบ มีคำตอบถูกมากกว่า 1 คำตอบ

  32. 2. แบบเลือกหลายคำตอบ (Multiple-selection) ข้อสอบข้อที่ ๓๖. ข้อใดบ้างที่เป็นกีฬาบุคคลประเภทคู่ ๑. เปตองประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๒. แบดมินตันประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๓. เซปักตะกร้อประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๔. วอลเลย์บอลชายหาดประเภทชายคู่และหญิงคู่ การให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิด ได้ -1 คะแนน

  33. 2. แบบเลือกหลายคำตอบ (Multiple-selection) ข้อสอบข้อที่ ๓๖. ข้อใดที่เป็นกีฬาบุคคลประเภทคู่ (ตอบ 2 คำตอบ) ๑. เปตองประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๒. แบดมินตันประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๓. เซปักตะกร้อประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๔. วอลเลย์บอลชายหาดประเภทชายคู่และหญิงคู่ การให้คะแนน ตอบถูก 1 คำตอบ ได้ 1 คะแนน ตอบถูก 2 คำตอบ ได้ 2 คะแนน

  34. ตัวอย่างข้อสอบ PISA & TIMSS

  35. 3. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (complex multiple choice) เป็นลักษณะข้อสอบที่มีข้อคำถามย่อยรวมอยู่ในข้อเดียวกัน โดยข้อคำถามแต่ละข้อจะถามข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริงหรือข้อสรุปจากเรื่องที่อ่าน

  36. 3. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (complex multiple choice) ครูสมศักดิ์วัดส่วนสูงนักเรียนชายหญิง ได้ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของนักเรียนหญิงเท่า 155 ซม. ค่าเฉลี่ยส่วนสูงนักเรียนชาย 165 ซม. ต่อมามีนักเรียนมาเข้าใหม่ 2 คน แล้วนำมาวัดส่วนสูงแล้ว พบว่า คะแนนเฉลี่ยส่วนสูงนักเรียนหญิงและชายไม่เปลี่ยนแปลง

  37. 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (Responses related) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบมากกว่า 1 ข้อ ที่มีเงื่อนไขให้คิดที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน โดยคำตอบในข้อที่แรก จะต้องเป็นข้อมูลที่ใช้ในการตอบข้อคำถามต่อไป

  38. 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (Responses related) 4.1 คำถามสัมพันธ์ 4.2 คำตอบสัมพันธ์

  39. 4.1 แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (โจทย์สัมพันธ์) ข้อสอบข้อที่ 17. Situation: Ben tells Rose that he is going to a stationery shop. Rose: I need some writing paper. _A_ Ben: _B_ Rose: That’s all. Thanks. A. 1. Have you got some? 2. Do you buy some writing paper? 3. Can you buy me some, please? 4. Have you bought some writing paper? B. 1. All right. Anything else? 2. I think I can. Any more? 3. Sure, I should buy it. 4. Of course, I must buy some more. การให้คะแนน ตอบถูกทั้ง 2 ข้อ ถึงจะได้คะแนน ตอบถูกข้อใดข้อหนึ่งไม่ได้คะแนน

  40. 4.2 แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (คำตอบสัมพันธ์) ข้อสอบข้อที่ ๕๐. ให้เลือกเทคนิคการโฆษณาให้สัมพันธ์กับตัวอย่างการโฆษณา (จับคู่ 5 คู่) การให้คะแนน ตอบถูก 2 คู่ ได้ 1 คะแนน ตอบถูก 3 คู่ ได้ 2 คะแนน ตอบถูก 4 คู่ขึ้นไป ได้ 3 คะแนน กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ ม.3 ปี 2553

  41. รูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบ (อัตนัย)

  42. 1.แบบจำกัดคำตอบ (restricted-response question) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้คิดและเขียนคำตอบภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด และมีขอบข่ายของคำตอบ ที่ชัดเจน (ออกยาก แต่ตรวจง่าย)

  43. ตัวอย่างข้อสอบแบบจำกัดคำตอบ (restricted-response question) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………........................... 2. การคิดวิเคราะห์ :วิเคราะห์หลักการ

  44. ตัวอย่างข้อสอบ PISA

  45. ตัวอย่างข้อสอบ PISA & TIMSS

  46. ตัวอย่างข้อสอบ PISA & TIMSS

  47. 2. แบบขยายคำตอบหรือไม่จำกัดคำตอบ (extended-response question) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้อิสระในการคิด โดยเปิดโอกาสให้คิดภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจนพร้อมแนวคำตอบ (ออกง่าย แต่ตรวจยาก)

More Related