1 / 15

วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น

วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น. การกำหนดนโยบายการศึกษา. ความหมายของนโยบายและการวางแผน. นโยบาย (Policy) หมายถึงอะไร.

dalit
Télécharger la présentation

วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นวิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น

  2. การกำหนดนโยบายการศึกษาการกำหนดนโยบายการศึกษา ความหมายของนโยบายและการวางแผน นโยบาย(Policy)หมายถึงอะไร Theo Haimann and William G. Scott , 1974, p.65 คือขอบเขต ของเหตุผลที่ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจGeorge R.Terry, 1977, p.189คือ การพูด หรือการเขียนถึงขอบเขต และแนวทางทั้งหมดของการปฏิบัติงานCharles E. Jacop, 1966, p.3คือหลักการ แผนการ หรือแนวทางของการปฏิบัติงานWilliam T.Greenwood, 1965, p.222คือ การตัดสินใจขั้นตอน อย่างกว้างๆ จากข้อมูลทั่วไป เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง และบรรลุตามวัตถุประสงค์ ที่ได้กำหนดไว้

  3. ความหมายของนโยบายและการวางแผนความหมายของนโยบายและการวางแผน Alfred J.Kahn , 1969, p. 130คือแผนงานประจำ (Standing plan)ซึ่งเป็นผลจากการต่อรอง (Negotiation)การปฏิบัติตามข้อตกลง และการประนีประนอม (Compromise)ในการกำหนดเป้าหมาย (Consensus)การตรวจสอบทางเลือก และการค้นคว้า ยุทธวิถี เพื่อให้การปฏิบัติ งานบรรลุ ถึงเป้าหมายที่ต้องการ อาจถือเป็นกฎ (rule)และระเบียบ (Regulation)เพื่อการตัดสินใจ เมื่อบุคคล หรือหน่วยงานประสบปัญหาในการปฏิบัติ John M. Piffner,1960, p.132คือ หลักเกณฑ์ และแนวทางในการปฏิบัติงาน ให้บรรลุถึงเป้าหมายอย่างมีเสถียรภาพ (Stability)มีความสอดคล้องกัน (Consistency)มีมาตรฐาน หรือ รูปแบบเดียวกัน (Uniformity)และมีความต่อเนื่องกัน (Continuity)

  4. Policy definition Business Dictionary, 2009. - Basic principles by which a government is guided. - Declared objectives which a government seeks to archive and preserve in the interest of national community. See also public policy.- Set ofbasic principles and associated guidelines, formulates and enforced by the governing body of an organization, to direct and limit its actions in pursuit of long-term goals. See also corporate policy. FAQ Corporate document repository, 2009. - A “policy” is very much like a decision or a set of decisions, and we “make” “implement” or “carry out” a policy just as we do with decisions.

  5. นโยบายสาธารณะ(Public Policy) mean Wikipedia,2009 Public Policy is that branch of political science, which deals with the study of legal concept of public and its formation Wise GEEK,2009 Public Policy is an attempt by the government to address a public issue. The government, whether it is city, state, or federal, develop public in term of laws regulations, decisions, and actions, players, and the policy. Google, 2009 Public policy is policy at and level of government. Some levels may have formal or legal precedence over others. Policy way be set by heads of government.

  6. นโยบายสาธารณะ(Public Policy) คือ 1. แนวทางปฏิบัติตนของรัฐบาลกลาง หรือ รัฐบาลท้องถิ่น 2.มีวัตถุประสงค์แน่นอน กำหนดไว้เพื่อหลายอย่าง ทั้งการแก้ปัญหา ป้องกันปัญหา หรือ ก่อให้เกิดสิ่งที่พึงประสงค์3.รัฐจริงใจที่จะให้นำไปปฏิบัติ4.เขียนได้ทั้งเชิงบวก และเชิงลบ

  7. การจำแนกนโยบาย ก. ดูจากแหล่งที่มา (Source) จำแนกออกเป็น 3 ประเภท 1. นโยบายริเริ่ม (Originate Policy) เกิดจากผู้บริหารระดับสูง จัดทำขึ้นเป็นแนวทางปฏิบัติ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด 2.นโยบายร้องเรียน (Imposed Policy)เกิดจากผู้บริหารระดับกลางกำหนดเพื่อการแก้ปัญหาในงานประจำ โดยเสนอผู้บังคับบัญชา ให้เห็นชอบในการดำเนินงาน3.นโยบายร้องเรียน (Imposed Policy)เกิดจากแรงกดดันภายนอกองค์การ เช่น อิทธิพลรัฐบาล กฎระเบียบ กลุ่มอิทธิพล ซึ่งองค์การหลีกเลี่ยงไม่ได้4.นโยบายโดยปริยาย (Implied Policy)นโยบายของผู้บริหารเต็มที่ ผู้บริหารใหม่ ใช้เชื่อมต่อการปฏิบัติขององค์กร

  8. การจำแนกนโยบาย (ต่อ) ข. จำแนกตามลักษณะการเกิด (Origin)จำแนกออกเป็น 3 ประเภท 1.นโยบายภายใน (Interval Policy) เกิดจากองค์กร กำหนดใช้เป็นแนวการดำเนินงานของตน และผู้ร่วมงาน อาจได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ กลุ่มบุคคลในหน่วยงาน (Originated or Appealed Policy) 2.นโยบายภายนอก (External Policy)เป็นนโยบายที่หน่วยงานสนองตอบอิทธิพลจากภายนอก ที่มากระทบองค์กร เช่น กฎหมาย นโยบายรัฐ การแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ

  9. การจำแนกนโยบาย (ต่อ) ค. จำแนกตามระดับชั้นการบริหารองค์กร (Original level of - Management)จำแนกออกเป็น 3ประเภท คือ 1.นโยบายพื้นฐาน (Basic Policy) กำหนดโดย Top Executivesเพื่อองค์กรทั่วไป ลักษณะแนวคิดกว้าง ๆ 2.นโยบายทั่วไป (General Policy)กำหนดโดย Middle Managersเพื่อให้ รายละเอียดสอดคล้องรับกับ Basic Policy 3. นโยบายเฉพาะหน่วยงาน (Departmental Policy) กำหนดโดยหัวหน้าหน่วยย่อย ขององค์กร

  10. การจำแนกนโยบาย (ต่อ) ง. จำแนกตามลักษณะ (Attributed Policy)จำแนกออกเป็น 5 ประเภท 1.นโยบายควบคุม (Regulative Policy) เช่น ภาษี เกณฑ์ทหาร ทรัพยากร อัตราแลกเปลี่ยน 2.นโยบายแจกจ่าย เช่นการพัฒนาด้านต่างๆ งบประมาณ โครงการ3. นโยบายการจัดการทรัพยากร นโยบายน้ำ นโยบายป่าไม้ ที่ดิน4. นโยบายการระดมความร่วมมือ เช่น ระดมทุน การมีส่วนร่วม5. นโยบายส่งเสริม วัฒนธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต

  11. ความสำคัญของนโยบาย 1.เป็นแนวทางการปฏิบัติ (A Guide of Action)อย่างกว้างๆ ของรัฐบาล และหน่วยงานที่มีลักษณะ Abstract 2.ช่วยให้ผู้บริหารทราบว่า จะมีภารกิจของหน่วยงาน และการดำเนินงานขององค์การอย่างไร3. ช่วยทุกฝ่ายในองค์กร เข้าใจภารกิจของหน่วยงาน ภารกิจไม่ซ้ำซ้อน และประสานการทำงานกัน4. ก่อให้เกิด เป้าหมายในการปฏิบัติ ประสิทธิภาพในงาน เกิดพลัง หรือศักยภาพ ในบุคลากร เมื่อบรรลุผล5. สนับสนุน ส่งเสริมการใช้อำนาจของผู้บริหาร ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง มีเหตุผลและยุติธรรม สร้างความเชื่อถือ จงรักภักดี และน้ำใจ

  12. ความสำคัญของนโยบาย (ต่อ) 6. ก่อให้เกิดการพัฒนาทางการบริหาร เมื่อมีการแปลความ (Interpretation)ไปสู่การปฏิบัติได้ (Feasibility)ของผู้บริหาร7. นโยบายช่วยประหยัดเวลา เพราะได้คาดเดาไว้ล่วงหน้าแล้ว8. นโยบายก่อให้เกิดความมั่นคง ในองค์กร และลดความเครียดเพื่อทราบทิศทาง9. นโยบายก่อให้เกิดการประสานงาน และประสานการทำงาน10. เป็นโครงร่าง ให้ผู้บริหารตัดสินใจ เมื่อได้รับมอบหมายงาน

  13. ลักษณะของนโยบายที่ดี 1.Joseph L. Massie and John Douglas, 1981p.133 1.1 ให้แนวทางการปฏิบัติงานขององค์กร ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดได้ และอธิบายให้ทุกคนในหน่วยงานทราบถึงแนวทางโดยรวมขององค์กร 1.2 เป็นข้อความที่เข้าใจง่าย และต้องเป็นลายลักษณ์อักษร1.3. ชี้ให้เห็นถึงเงื่อนไข และช่วงทางการปฏิบัติงานในอนาคต 1.4. สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าจำเป็น และมีเหตุผล1.5 เป็นเหตุ เป็นผล และนำไปปฏิบัติได้ 1.6 เปิดโอกาสให้ผู้นำไปปฏิบัติ แปลความ และตัดสินใจด้วยตนเอง 1.7 ต้องได้รับการตรวจสอบและทบทวนเป็นระยะๆ

  14. ลักษณะของนโยบายที่ดี (ต่อ) 2.Wayne R. Mondy and Associates, 1988 p.95-96 2.1 Policy should be based on factual (กำหนดบนพื้นฐานของข้อมูลความจริง)2.2Subordinate and Superior should be complementary (นโยบายบังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับ ต้องไม่ขัดกัน)2.3Policies of different, derisions or departments should be coordinal (นโยบายต่างแผนกในองค์กรเดียวกัน ไม่ควรขัดแย้งกัน)2.4Policies should be definite, understandable, andstable (เป็นข้อความที่ให้ความหมาย ที่เข้าใจได้ และเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร) 2.5Policies should be reasonably comprehensivein scope(ยืดหยุ่นแต่มั่นคงในหลักการ)2.6Policies should be reasonably comprehensive in scope (ควรมีขอบเขตที่เข้าใจได้ด้วยเหตุผล)

  15. ที่มา • http://www.nb2.go.th/~ktu/subject/1065103/policy01.ppt#268,13,ภาพนิ่ง 13 • สืบค้นวันที่ 14 สิงหาคม 2552

More Related