1 / 71

แผนการดำเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงใหม่)

แผนการดำเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงใหม่) ๘ มีนาคม ๒๕๕๕.

Télécharger la présentation

แผนการดำเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงใหม่)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการดำเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงใหม่) ๘ มีนาคม ๒๕๕๕

  2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๕๔ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔๒ ก วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการประกาศการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแล้ว ตั้งแต่วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๔ ที่มา

  3. การประกาศใช้กฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครการประกาศใช้กฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร ทำให้อำนาจหน้าที่ในการพิจารณาเกี่ยวกับ การบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรุงเทพมหานครเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้

  4. มาตรา ๑๔ ก.ก.มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ • ให้คำแนะนำแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดระบบราชการกรุงเทพ และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร • ๔. ให้ความเห็นชอบการตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงสำนัก หรือการแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร • ๕. ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร

  5. มาตรา ๑๘ อ.ก.ก. สามัญข้าราชการสามัญ • มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ • เสนอแนะต่อ ก.ก.เพื่อให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงาน การจัดและการพัฒนาหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร • ๓.พิจารณาการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร • ๕. พิจารณากำหนดตำแหน่ง จำนวน ประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับของตำแหน่งของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและความประหยัดเป็นหลัก

  6. มาตรา ๒๔ อ.ก.ก. สามัญหน่วยงาน • มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ • เสนอแนะต่อ ก.ก.เพื่อให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงาน การจัดและการพัฒนาหน่วยงาน • ๓.พิจารณาการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการในหน่วยงาน

  7. มาตรา ๒๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร • เรียกโดยย่อว่า “ สำนักงาน ก.ก.” • มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ • วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับการจัดระบบราชการกรุงเทพมหานครเพื่อเสนอ ก.ก. • ๓. เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร

  8. มาตรา ๒๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า “ สำนักงาน ก.ก.” มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ต่อ) ๔. พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ๖ดำเนินการเกี่ยวกับแผนกำลังคนของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร

  9. กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

  10. แผนการดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๕๕ แผนการปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงานกรุงเทพ มหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ.๒๕๕๓ • แผนการปรับปรุงโครงสร้าง • และอัตรากำลัง • ของหน่วยงานกรุงเทพ • มหานคร • (ฉบับปรับปรุง ) ปรับเปลี่ยน ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับ พรบ.ระเบียบข้าราชการ กทม.ฯ พ.ศ. ๒๕๕๔ ระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒ ระยะที่ ๓

  11. ความเป็นมา หนังสือสำนักงาน ก.ก.ที่เกี่ยวข้อง ๓ ฉบับ ฉบับที่ ๑ หนังสือสำนักงาน ก.ก. ที่ กท ๐๓๐๔/๓๔๓๙ ลงวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เรื่อง แผนการปรับปรุงโครงสร้างและ อัตรากำลัง ๓ ปีของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร

  12. แผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบราชการกรุงเทพมหานครแผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบราชการกรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ๑. ปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มี ความเหมาะสม ๒. ข้าราชการมีหลักประกันความเป็นธรรม และสอดคล้องกับกับการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ๓พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูง มี คุณธรรมมีขวัญกำลังใจและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี

  13. กลยุทธ์ • ให้ทบทวนกรอบหรือแผนอัตรากำลังเชิงรุก โดยมุ่งเน้นการลดขนาดองค์กรและจำกัดอัตรากำลังเพื่อรองรับการปรับรูปแบบการบริหารราชการในแบบกำกับการจ้างภายนอก (OUTSOURCE) • ๒. การสนับสนุนการดำเนินงาน (SUBSIDY) ของเอกชน ประชาชนและหน่วยงานอื่น

  14. จัดทำแผน ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๕) ตามกรอบและทิศทางที่คณะกรรมการกรุงเทพมหานครกำหนด

  15. แผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ๒๕๕๒-๒๕๕๕ แผนการปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร มติ ก.ก. อ.ก.ก.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงโครงสร้างและการจัดอัตรากำลัง การกระจาย อำนาจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มาตรการ ปรับขนาด กำลังคน ของ กทม. เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ

  16. การดำเนินงานของสำนักการแพทย์ และ สปร.( มิถุนายน ๒๕๕๓- มีนาคม ๒๕๕๔ ) ๑. การจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี ( ปีงบประมาณ ๒๕๕๓-๒๕๕๕) ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ๒. การกำหนดสมรรถนะเฉพาะตำแหน่งของ ๕ สายงานหลัก ได้แก่แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร และนักเทคนิคการแพทย์

  17. ๓. การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรใน ๕ สายงานหลัก -แผนพัฒนาบุคลากร ๓ ปี ( ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ )- แผนพัฒนาบุคลากร ปี ๒๕๕๕ • วางระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน และ แนวทางเพื่อการนำสู่ทางปฏิบัติของสำนัก การแพทย์ กรุงเทพมหานคร ใน ๕ สายงานหลัก ๕. นำเสนอแนวทางการสร้างขวัญกำลังใจ แก่บุคลากรของสำนักการแพทย์

  18. ฉบับที่ ๒ หนังสือสำนักงาน ก.ก. ที่ กท ๐๓๐๔/ ๑๐๑๖ ลงวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๔ เรื่อง ให้สำนักงาน ก.ก.ชะลอการจัดทำแผน ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร เนื่องจาก อยู่ระหว่างดำเนินการปรับเปลี่ยนระบบ บริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยในส่วน ของหน่วยงาน / ส่วนราชการให้ดำเนินการ ทบทวนภารกิจ บทบาท อำนาจหน้าที่ต่อไป

  19. เมื่อมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ ชะลอแผน

  20. การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร( เมษายน ๒๕๕๔ - พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ) ๑.ชะลอการจัดทำแผนปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร ๒. ดำเนินการปรับเปลี่ยนระบบบริหาร ทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและ บุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔

  21. ๓. ดำเนินการประกาศการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • การจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ๕. ดำเนินการแล้วเสร็จตั้งแต่วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๔

  22. กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

  23. ฉบับที่ ๓ หนังสือสำนักงาน ก.ก. ที่ กท ๐๓๐๔/ ๓๔๓๐ ลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ เรื่อง ขอปรับแผนการดำเนินการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร ให้ดำเนินการตามแผนการปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ให้แล้ว เสร็จ ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕

  24. การปรับวิธีดำเนินการ แผนปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี เพิ่ม รูปแบบการดำเนินงาน เป็น ที่ปรึกษา และให้ ความรู้แก่ หน่วยงาน ปรับบทบาทของสำนักงาน ก.ก. กำหนดให้มีการจ้างบุคคลภาย นอกทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะ ตามกลุ่มภารกิจ ๗ กลุ่ม ๐กลุ่มภารกิจด้านสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม ๐ สำนักการแพทย์ ๐ สำนักอนามัย ๐ สำนักสิ่งแวดล้อม ๐ ฝ่ายรักษาความสะอาด และสวนสาธารณะ

  25. การปรับปรุงวิธีดำเนินการการปรับปรุงวิธีดำเนินการ ตามแผนปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร • เปลี่ยนแปลงระยะเวลาดำเนินการ เป็น ตั้งแต่ เดือนธันวาคม ๒๕๕๔ - • เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕

  26. ๒.ปรับรูปแบบการดำเนินการเป็นลักษณะของ๒.ปรับรูปแบบการดำเนินการเป็นลักษณะของ กลุ่มภารกิจ จำนวน ๗ กลุ่มภารกิจ ๐ กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ๐ กลุ่มภารกิจด้านสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม ๐ กลุ่มภารกิจด้านการปกครองและรักษาความ สงบเรียบร้อย ๐ กลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจ ๐ กลุ่มภารกิจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ๐ กลุ่มภารกิจด้านโครงสร้างพื้นฐานและ สาธารณูปโภค ๐ กลุ่มภารกิจด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

  27. ๓. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อรับผิดชอบ ดำเนินการในแต่ละกลุ่มภารกิจ ทบทวน และปรับปรุงภารกิจ อำนาจหน้าที่ของ หน่วยงานตามกลุ่มภารกิจ ๐ จัดทำแผนปรับปรุงโครงสร้างและ อัตรากำลังของหน่วยงาน ๔. ปรับบทบาทของหน่วยงาน/ ส่วนราชการที่ รับผิดชอบการบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรุงเทพมหานครให้มีความ เหมาะสม สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ ตามกฏหมายใหม่

  28. ๔. จ้างที่ปรึกษาที่มีความรู้ ความชำนาญ และ ประสบการณ์ด้านการบริหารทรัพยากร บุคคล เพื่อช่วยให้คำปรึกษาและ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของแต่ละ กลุ่มภารกิจ จำนวน ๕ คน

  29. กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

  30. แนวทางการกำหนดตำแหน่งของกรุงเทพมหานครแนวทางการกำหนดตำแหน่งของกรุงเทพมหานคร ๑. ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ปี ๒. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓. มาตรการปรับขนาดกำลังคน ๔. มติคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร

  31. ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง 3 ปี ๐ ปรับปรุงโครงสร้างอำนาจหน้าที่และการจัด อัตรากำลังของ กทม. ให้ เหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจในปัจจุบัน ๐ กระจายอำนาจและหน้าที่ โดยคำนึงถึงความ มีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และอำนวย ความสะดวกแก่ประชาชน ๐ จัดระบบงานและวิธีปฏิบัติราชการให้สั้น ลด ขั้นตอน ส่งเสริมการสร้าง เครือข่าย

  32. ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง 3 ปี ๐ จัดอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ แผนงาน/โครงการของ หน่วยงาน โดยยึดหลักไม่เพิ่มอัตรากำลังแต่ ใช้วิธีการเกลี่ยอัตรากำลัง รวมทั้ง การนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ๐การจัดทำหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานกำหนด จำนวนตำแหน่ง และระดับ ตำแหน่ง เพื่อ รองรับการมอบอำนาจตาม พ.ร.บ. ใหม่

  33. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๕บัญญัติไว้ว่า “ในการจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้างที่นำมาจากเงินรายได้ ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใดนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งจะกำหนดสูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นไม่ได้”

  34. มาตรการปรับขนาดกำลังคนของ กรุงเทพมหานคร (ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ) • ๐ ไม่เพิ่มอัตรากำลังในภาพรวมทุก หน่วยงาน ยกเว้นกรณีจำเป็น อันมิ อาจหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจาก • ๑. มีการจัดตั้งหน่วยงานหรือส่วน ราชการขึ้นใหม่ • หรือ

  35. ๒. เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งไว้แล้วที่มีความ จำเป็นต้องเพิ่มอัตรากำลัง ซึ่งต้องมี ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ ๐เป็นหน่วยงานหรือเป็นส่วนราชการที่ทำ หน้าที่ให้บริการประชาชนโดยตรง (เป็นงานบริการที่หน่วยงานหรือส่วน ราชการรับคำขอจากส่วนราชการโดยตรง เช่นประชาชนยื่นคำขอทำบัตรประชาชน หรือประชาชนมาขอรับการตรวจรักษาที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือโรงพยาบาล เป็นต้น)

  36. ๐เป็นหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ จะต้องดำเนินงานตามนโยบาย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือ ได้รับการถ่ายโอนภารกิจ จาก ราชการส่วนกลาง หรือตามที่ กฎหมายกำหนด หากไม่ ดำเนินการจะทำให้เกิดผลเสียหาย แก่กรุงเทพมหานคร

  37. โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้ ๑. ให้เกลี่ยอัตรากำลังก่อน ๒. หากยังไม่เพียงพอให้หน่วยงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน หรือใช้การจ้างงานที่หลากหลาย

  38. ๓. หากดำเนินการแล้วยังมีอัตรากำลัง ไม่เพียงพออีก ให้เสนอเหตุผลความ จำเป็น ให้คณะกรรมการจัดสรร กำลังคนของกรุงเทพมหานคร พิจารณาจัดสรรอัตราว่างจาก หน่วยงานอื่นมาให้ ๔. หากคณะกรรมการฯ ไม่สามารถ จัดสรรอัตราให้ได้ หรือ จัดสรรแล้ว ยังมีอัตรากำลังไม่เพียงพอ จึงจะ สามารถนำเสนอขอเพิ่มกรอบ อัตรากำลังได้

  39. มติคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร ๐ ตั้งแต่วันที่ ๒๖ ก.ย. ๒๕๓๗ กำหนดให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล เป็นตำแหน่ง นายแพทย์ ๘ หรือ ๙ วช. ๐กรณียกฐานะโรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาล ทุติยภูมิชั้นสูง ซึ่งกำหนดตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจากตำแหน่ง นายแพทย์ ๘ หรือ ๙ วช. เป็นตำแหน่ง นายแพทย์ ๙ ใช้แนวทางการพิจารณา ดังนี้

  40. พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ • (มาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๒ (๙)(ง) ) • ๒)เหตุผลความจำเป็น • ๐ ดูนโยบายและเป้าหมาย • ๐ ความจำเป็นในการให้บริการประชาชน อย่างทั่วถึง • ๐ การส่งเสริมประสิทธิภาพในการรักษา จำเป็นต้องมีการรักษาในระดับทุติยภูมิ ชั้นสูง

  41. ๓) ความพร้อมด้าน Demand และ Supply • หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณกรอบ อัตรากำลัง โดยพิจารณาจาก Work Load • และหลักเกณฑ์ที่ได้รับอนุมัติจาก ก.ก. • ๕) พิจารณาเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่ได้ • กำหนดไปแล้ว • ๖) พิจารณาจากประโยชน์ในการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง • - ประโยชน์ต่อประชาชน • -ประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานคร • -ประโยชน์ต่อข้าราชการ

  42. มติ ก.ก. มติ ก.ก. ครั้งที่ ๑/๒๕๔๙ วันที่ ๑๖มกราคม ๒๕๔๙ ๐ให้กำหนดตำแหน่งในสายงานแพทย์ เป็นตำแหน่งในระดับ ๔-๖ หรือ ๗ วช. หรือ ๘ วช. หรือ ๙ วช.

  43. มติ ก.ก. ครั้งที่ ๑/๒๕๔๙ วันที่ ๑๖มกราคม ๒๕๔๙ อนุมัติเป็นหลักการเกี่ยวกับการกำหนด ตำแหน่งเพื่อใช้กับทุกหน่วยงาน ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ดังนี้ ๑) ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ๐ กลุ่มงานธุรการ หรือบริการทั่วไป และกลุ่ม งานที่ปฏิบัติภารกิจหลักของส่วนราชการ ให้กำหนดเป็นระดับ ๑-๓หรือ ๔หรือ ๕ ๐ กลุ่มงานเทคนิคเฉพาะด้านและกลุ่มงานที่ใช้ ทักษะและความชำนาญเฉพาะตัว ให้กำหนด เป็นระดับ ๑-๓หรือ ๔หรือ ๕หรือ ๖

  44. ๒)ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ให้กำหนดเป็นระดับ ๒-๔หรือ ๕หรือ ๖ ๓)ในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ให้กำหนดเป็นระดับ ๓-๕ หรือ ๖ว หรือ ๗ว ๔) ตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายหรือเทียบเท่า ให้พิจารณาใน ฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ มีประสบการณ์เฉพาะตัวด้วย โดยกำหนดเป็นตำแหน่งระดับ ๖หรือ ๗ ว หรือ ระดับ ๗หรือ ๘ว หรือระดับ ๗วช. หรือ ๘ วช. แล้วแต่ กรณี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับภารกิจของแต่ละ ส่วนราชการโดยให้สำนักงาน ก.ก. เป็นผู้พิจารณา กำหนดตำแหน่งดังกล่าวตามลักษณะงานของ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบกาณ์เฉพาะตัวต่อไป

  45. กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

  46. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร

  47. แนวทางการจัดกรอบอัตรากำลัง(การจัดลำดับความสำคัญ) ๑ ตามลักษณะงาน ๒ ตามหน่วยงาน ๓ ตามสายงาน ๔ ตามสาขาวิชา

More Related