1 / 16

ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526

ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526. น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526. งานสารบรรณ หมายถึง งานเกี่ยวกับการบริหารเอกสาร เริ่มตั้งแต่ จัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้รักษาการตามระเบียบ

Télécharger la présentation

ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบงานสารบรรณพ.ศ. 2526 น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์

  2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 งานสารบรรณหมายถึงงานเกี่ยวกับการบริหารเอกสาร เริ่มตั้งแต่ จัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามระเบียบ งานสารบรรณ และมีอำนาจตีความ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบ

  3. หนังสือราชการ คือเอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ * หนังสือที่มีไป-มา ระหว่างส่วนราชการ * จากส่วนราชการไปถึงบุคคลภายนอก หรือหน่วยงานที่ไม่ใช่ส่วนราชการ * จากบุคคลภายนอกมาถึงส่วนราชการ * ราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน เช่น บันทึกสอบสวน * เอกสารที่ราชการจัดทำขึ้นตามกฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ

  4. หนังสือราชการแบ่งเป็น 6 ชนิด ได้แก่ • หนังสือภายนอก เป็นแบบพิธีโดยใช้ • กระดาษตราครุฑ (2) หนังสือภายใน เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือ ภายนอก ใช้ติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใช้กระดาษ บันทึกข้อความ

  5. (3)หนังสือประทับตราใช้ประทับตราแทนการลงชื่อ(3)หนังสือประทับตราใช้ประทับตราแทนการลงชื่อ ของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง เป็นผู้ลงชื่อย่อกำกับตรา เฉพาะกรณีไม่ใช่เรื่องสำคัญ (4) หนังสือสั่งการ มี 3 ชนิด คือ * ระเบียบ * คำสั่ง * ข้อบังคับ

  6. (5) หนังสือประชาสัมพันธ์ ได้แก่ * ประกาศ * แถลงการณ์ * ข่าว (6) หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐาน ได้แก่ หนังสือรับรอง รายงานการประชุมบันทึกที่เจ้าหน้าที่เสนอผู้บังคับบัญชา และ หนังสืออื่น ๆ รวมถึงภาพถ่าย ฟิล์ม เทปบันทึกเสียง บันทึกภาพ

  7. ชั้นความเร่งด่วน ได้แก่ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน ให้ปฏิบัติ ดังนี้ (1) ด่วนที่สุดให้ปฏิบัติทันที(2) ด่วนมากให้ปฏิบัติโดยเร็ว(3) ด่วน ให้ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ สำเนาหนังสือโดยปกติให้มีสำเนาคู่ฉบับเก็บไว้ ที่ต้นเรื่อง1ฉบับ เก็บไว้ที่หน่วยสารบรรณกลาง1ฉบับ

  8. การเก็บหนังสือราชการ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1)เก็บระหว่างปฏิบัติ (2)เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว (3)เก็บเพื่อไว้ใช้ในการตรวจสอบ อายุการเก็บหนังสือโดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10ปี หนังสือธรรมดาไม่ใช่เรื่องสำคัญ และเกิดขึ้นเป็นประจำ ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

  9. การทำลายหนังสือราชการการทำลายหนังสือราชการ ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ อย่างน้อย 3คน โดยให้แต่งตั้งจากข้าราชการ ระดับ 3ขึ้นไป ครุฑมีสองขนาด ได้แก่ ขนาด 3ซ.ม. ขนาด 1.5ซ.ม.

  10. เลขหนังสือของส่วนราชการเจ้าของเรื่องเลขหนังสือของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ประกอบด้วย ตัวเลข 4ตัว โดยสองตัวแรก หมายถึงส่วนราชการระดับกรม หรืออำเภอในส่วนภูมิภาค ส่วนสองตัวหลังหมายถึงกองหรือแผนก งานต่าง ๆ เช่น พน0504/..... 05 ได้แก่กรมพัฒนาฯ ส่วน 04หมายถึง สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน

  11. การปรับปรุงเลขประจำส่วนราชการการปรับปรุงเลขประจำส่วนราชการ ให้มีการปรับปรุงทุก ๆ 5ปี โดยถือเอาปี พ.ศ. ที่ลงท้ายด้วย เลข 5 และเลข 0เป็นหลัก เช่น พ.ศ. 2535 , พ.ศ. 2540 หรือ พ.ศ. 2545เป็นต้น

  12. รหัสตัวพยัญชนะประจำกระทรวง ของ กระทรวงพลังงาน คือ พน. กระทรวงพลังงาน มีส่วนราชการ ดังนี้ 1. สำนักงานรัฐมนตรี 2. สำนักงานปลัดกระทรวง 3. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 4. กรมธุรกิจพลังงาน 5. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 6. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

  13. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน มีหน่วยงานสังกัด รหัสตัวพยัญชนะ และเลขประจำเจ้าของเรื่องดังนี้ • สำนักงานเลขานุการกรม ที่ พน ๐๕๐๑/ • กองแผนงาน ที่ พน ๐๕๐๒/ • กองฝึกอบรม ที่ พน ๐๕๐๓/ • สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน ที่ พน ๐๕๐๔/ • สำนักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี ที่ พน ๐๕๐๕/ • สำนักพัฒนาพลังงาน ที่ พน ๐๕๐๖/ • สำนักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ พน ๐๕๐๗/ • สำนักวิจัย ค้นคว้าพลังงาน ที่ พน ๐๕๐๘/ • สำนักส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ที่ พน ๐๕๐๙/ • สำนักพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพ ที่ พน ๐๕๑๐/

  14. หนังสือถึงบุคคลธรรมดาหนังสือถึงบุคคลธรรมดา ให้ขึ้นต้นด้วย "เรียน" ลงท้ายด้วย "ขอแสดงความนับถือ"

  15. คำขึ้นต้น หนังสือภายนอกและภายใน กราบเรียน-ประธานองคมนตรี - นายกรัฐมนตรี - ประธานรัฐสภา - ประธานสภาผู้แทนราษฎร - ประธานวุฒิสภา -ประธานศาลฎีกา - รัฐบุรุษ - ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

  16. - ประธานศาลปกครองสูงสุด - ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ - ประธานกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ - ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน - ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา = ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง คำลงท้าย

More Related