1 / 22

พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กับการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กับการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ. สุชญา อัมราลิขิต ผู้อำนวยการสำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม.

darius
Télécharger la présentation

พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กับการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กับการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ สุชญา อัมราลิขิต ผู้อำนวยการสำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประชุม เรื่อง “การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) สำหรับผู้บริหาร”วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพ

  2. พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 • รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67 • การดำเนินงานด้าน HIA • ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

  3. พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

  4. พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ม.18 อำนาจ กก.วล.แต่งตั้ง คชก(พิจารณารายงาน EIA + พิจารณาผู้ขอรับใบอนุญาตจัดทำรายงาน) กำหนดประเภท/ขนาดโครงการจัดทำ EIA/IEE ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ม.44 (3), ม.45 ม.46 • กำหนดประเภท/ขนาดโครงการจัดทำ EIA • หลักเกณฑ์ใช้การจัดทำรายงาน ม.47 ขั้นตอนระยะเวลาการเสนอรายงานโครงการรัฐ รัฐวิสาหกิจ รัฐร่วมเอกชน • โครงการของเอกชนต้องจัดทำ EIA ก่อนก่อสร้าง/ดำเนินการ • ระยะเวลาการพิจารณาเอกสารรายงาน EIA โดย สผ. • ให้มี คชก.ที่แต่งตั้งโดย กก.วล. พิจารณา EIA ม.48 ม.49 กำหนดระยะเวลา คชก.พิจารณารายงานภายใน 45 วัน ม.50 • อำนาจ คชก.ตรวจสอบพื้นที่ • เงื่อนไข EIA เป็นเงื่อนไขการสั่งอนุญาตของหน่วยงานอนุญาต • รายงาน EIA จัดทำโดยผู้ชำนาญการที่ได้รับอนุญาต • ออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การขอ • ใบอนุญาต/ การเป็นผู้ชำนาญการ ม.51

  5. คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการประเภทต่างๆ 11 คณะ • ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการผู้ชำนาญการฯ โดยเพิ่มผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุขในคณะกรรมการ (มติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 4/2551 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2551) ช่วยให้ความเห็นและพิจารณารายงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขและผลกระทบต่อสุขภาพ

  6. คชก.แหล่งน้ำ ผู้ทรงคุณวุฒิ คชก.เหมืองแร่ คชก.สำรวจและหรือผลิตปิโตรเลียม คชก.อุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมีและเคมี

  7. คชก.อุตสาหกรรม ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข คชก.ที่พักอาศัย คชก.บริการชุมชน คชก.ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และโครงการร่วมกับเอกชน คชก.พลังงาน คชก.ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และโครงการร่วมกับเอกชนด้านคมนาคม คชก.โครงสร้างพื้นฐานและอื่นๆ

  8. รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67

  9. รัฐธรรมนูญ 2550 • มาตรา 67 • การดำเนินการโครงการหรือกิจกรรม ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน • จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็น และองค์การอิสระฯ ให้ความเห็นประกอบก่อนดำเนินโครงการ • สิทธิของชุมชนที่จะฟ้อง เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ย่อมได้รับความคุ้มครอง

  10. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2550 มาตรา 67 วรรค 2 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตั้งคณะทำงานยกร่างกฎหมายจัดตั้งองค์การอิสระสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2551) สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตั้งคณะกรรมการพิจารณากำหนดประเภทและขนาดโครงการและกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งต้องให้องค์การอิสระสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ให้ความเห็น (2551) จัดประชุมระดมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค • (ร่าง) กฎหมายองค์การอิสระสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ พ.ศ......... • ประเภทและขนาดโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง

  11. การดำเนินงานด้าน HIA

  12. ปี 2550 สผ. จัดทำแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

  13. ความเชื่อมโยงของ HIA กับ EIA www.onep.go.th/eia

  14. แนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. การกลั่นกรองโครงการ (Screening) 2. การกำหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) 3. การประเมินผลกระทบ (Assessment) • การรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน Baseline Information / Profiling • การประเมินและกำหนดความสำคัญ Determining Significance • การเสนอมาตรการป้องกันและการจัดทำรายงาน Reporting 4. การพิจารณารายงานและการตัดสินใจ (Reviewand Decision Making) 5. การติดตามตรวจสอบและการประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

  15. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  16. คำถาม คำตอบ www.onep.go.th/eia E-mail suchaya@onep.go.th

More Related