1 / 37

คำชี้แจง

คำชี้แจง. สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ชีววิทยา เรื่อง ระบบประสาท ระดับช่วงชั้นที่ 4. 1. บทเรียนเรื่อง ระบบประสาท ระดับช่วงชั้นที่ 4 นักเรียนสามารถ ศึกษาตามลำดับขั้น 2. ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จัดองค์ความรู้

Télécharger la présentation

คำชี้แจง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ชีววิทยา เรื่อง ระบบประสาท ระดับช่วงชั้นที่ 4 1.บทเรียนเรื่อง ระบบประสาท ระดับช่วงชั้นที่ 4นักเรียนสามารถ ศึกษาตามลำดับขั้น 2. ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จัดองค์ความรู้ เกี่ยวกับเรื่อง ระบบประสาท เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน 3. ขอขอบคุณครูไตรรัตน์ เชื้อทองพิทักษ์ ผู้พัฒนาโปรแกรม สร้างแบบทดสอบ เข้าสู่บทเรียน

  2. วิชา ว 42241 ชีววิทยา ระดับชั้นม.5 นางไพรวัน ชื่นวรรณูปถัมภ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนกัลยาณวัตร

  3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับ การรักษาดุลยภาพของร่างกายสัตว์และมนุษย์ โดยการประสานงานในร่างกายของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ รวมถึงการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อธิบายและจำแนกส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์ประสาท เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบาย โครงสร้างของสมองและไขสันหลัง

  4. เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue) เนื้อเยื่อประสาทเป็นกลุ่มเซลล์ที่พัฒนาไปเพื่อทำหน้าที่สำคัญได้แก่การนำกระแสความรู้สึกและตอบสนองต่อสิ่งเร้าในการทำงานจะทำงานร่วมกันเรียกว่าระบบประสาทซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervous system, CNS)ได้แก่สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทส่วนปลาย(peripheral nervous system, PNS)ได้แก่เส้นประสาทต่างๆซึ่งเชื่อมกับ CNS

  5. เนื้อเยื่อประสาทประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ 1. ตัวเซลล์ประสาท(neuron) 2. เซลล์เกี่ยวพันประสาทหรือนิวโรเกลีย(glial cell หรือ neuroglia)

  6. Neuron

  7. เซลล์ประสาท (Neuron) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ • Cell body • Dendrite • Axon

  8. Neuron Dendrite Cell body Nucleus

  9. Nerve fiberโดยทั่วไปมีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelinated nerve fiber) เยื่อไมอีลินเป็นไขมันเกิดจากผนังของ Glial cell ชนิด Schwann cell หรือ Neurolemmaพันรอบแกน axon ซ้อนกันแน่นหลายๆชั้นทำให้เห็นเป็นปลอกหนาส่วน cytoplasm ของ Schwann cell จะพันอยู่เพียงรอบนอกสุดเท่านั้นเนื่องจากใยประสาทมีความยาวมากจึงต้องมี Schwann cell หุ้มหลายตัวรอยต่อระหว่างเซลล์เรียกว่าnode of Ranvier

  10. Nerve fiberที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลางและตรงที่จะเข้าไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆจะไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (Nonmyelinated nerve fiber) Nerve fiberชนิดไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มนี้มิได้หมายความว่าจะมีเพียงเส้น axon อยู่โดยลำพังเท่านั้นแท้จริงแล้ว nerve fiber ชนิดนี้จะมีเยื่อหุ้มเซลล์ของ neurolemmaหุ้มอยู่โดยรอบเช่นกันแต่จะหุ้มอยู่เพียงชั้นเดียวneurolemma 1 ตัวอาจหุ้ม nerve fiber ได้หลายเส้น

  11. Neuron 3 ชนิด • Multipolar • Bipolar • Unipolar 1 2 3

  12. Unipolar neuron Multipolar neuron

  13. เซลล์ประสาทชนิดต่างๆ

  14. Nissl’s granules (จุดๆติดสีแดงใน cytoplasm) Neuron Glial cell

  15. เซลล์เกี่ยวพันประสาท (Glial cell or Neuroglia) • Glial cell เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างและขนาดต่างๆกันทำหน้าที่เป็นตัวยึดเหนี่ยวพยุงให้เซลล์ประสาทอยู่คงที่และทำหน้าที่อื่นๆอีกแล้วแต่ชนิด • ในระบบประสาทส่วนกลางได้แก่ ependymal cell, astrocyte, oligodendroglia และ microglia • ในระบบประสาทส่วนปลายได้แก่ Schwann cell, neurolemma

  16. Ependymal cellเป็นเซลล์บุช่องในสมองและไขสันหลัง Astrocyteมีรูปร่างคล้ายดาวทำหน้าที่เกี่ยวพันและเป็นตัวเชื่อมประสาทปากแผลที่จะเกิดขึ้นในเนื้อเยื่อประสาทลักษณะเด่นคือมีแขนงหนึ่งไปพันอยู่รอบผนังหลอดเลือดและทำหน้าที่สำคัญในการประกอบขึ้นเป็นblood brain barrier

  17. Oligodendrogliaทำหน้าที่สร้างเยื่อหุ้มไมอีลินหุ้มใยประสาทในระบบประสาทส่วนกลางพบทั้งใน gray matter และ white matter

  18. Microglia เป็นเซลล์เกี่ยวพันประสาทที่มีขนาดเล็กๆที่สุดทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในเนื้อเยื่อประสาท

  19. Schwann cell หรือ Neurolemma ทำหน้าที่สร้างเยื่อหุ้มไมอีลินหุ้มใยประสาทที่บริเวณเส้นประสาทต่างๆทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าไปในเนื้อเยื่อประสาทและยังมีบทบาทในการเสริมสร้างใยประสาทได้ด้วย

  20. การเรียงตัวของnerve fiberในเส้นประสาทแต่ละเส้นมีลำดับขั้นตอนดังนี้nerve fiber 1 เส้นมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาทหุ้มอยู่บางๆเรียกว่าendoneurium แล้ว nerve fiberหลายๆเส้นที่มี endoneurium หุ้มนี้จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเรียกว่า fascicle มีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้หุ้มอีกชั้นหนึ่งเรียกว่า fascicles หลายกลุ่มจะรวมกันเข้าเป็นเส้นประสาท 1 เส้นมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้หุ้มโดยรอบเช่นกันเรียกperineurium epineurium

  21. epineurium Spinal ganglion perineurium PERIPHERAL NERVE endoneurium Afferent neuron fascicles Sensory ending Efferent neuron Anterior horn cell Node of Ranvier Axon ONE NERVE FIBER Myelin sheath Neurolemma (sheath of Schwann) motor ending

  22. Motor end plate

  23. โครงสร้างระบบประสาท • ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)=CNS • ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System)=PNS

  24. ♣ระบบประสาทส่วนกลาง • (Central Nervous System)=CNS ได้แก่ สมองและไขสันหลัง

  25. ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervoussystem เรียกย่อว่า CNS) • สมอง (Brain) อยู่ในกะโหลกศีรษะ มีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น • ชั้นนอกมีลักษณะเหนียว ทน • ชั้นกลางมีลักษณะเป็นตาข่าย คล้ายใยแมงมุม มีช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มชั้นกลางและชั้นใน ที่มีน้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลังหล่อเลี้ยงอยู่ • ชั้นในติดกับเนื้อสมอง เป็นรอยหยัก ตามลักษณะของเนื้อสมอง • สมองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ • *สมองส่วนหน้า(forebrain) • *สมองส่วนกลาง(midbrain) • *สมองส่วนหลัง(hindbrain)

  26. ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) สมอง (brain) สมอง (brain) สมองส่วนกลาง(midbrain) สมองส่วนหน้า (forebrain) สมองส่วนหลัง(hindbrain) ออพติกโลบ ออลแฟกทอรีบัลบ์ เซรีบรัม ทาลามัส ไฮโพทาลามัส เซรีเบลลัม เมดัลลาออบลองกาตา พอนส์

  27. สมองส่วนหน้า ออลแฟกทอรีบัลบ์ หน้าที่รับกลิ่น เซรีบรัม หน้าที่ รับสัมผัส ควบคุมการเคลื่อนไหว ความคิด อารมณ์และภาษาทาลามัส หน้าที่เป็นศูนย์กลางการรวบนวมและถ่ายทอดสัญญาน ไฮโปธารามัส หน้าที่ควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ ต่อมไร้ท่อเพื่อ รักษาสมดุลร่างกาย พอนส์ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้ำลายและการเคลื่อนไหวใบหน้า เป็นทางผ่านของกระแสประสาท ระหว่างซีรีบรัมกับซีรีเบลลัม และ ระหว่างซีรีเบลัมกับไขสันหลัง

  28. สมองส่วนกลาง เกี่ยวข้องกับการได้ยิน ปฏิกิริยาต่อแสง ในสัตว์ชั้นต่ำเป็นศูนย์กลางมองเห็นและภาษา

  29. สมองส่วนหลัง ซีรีเบลลัม - ประสานการเคลื่อนไหวของร่างกายให้ราบรื่นสละสลวย และเที่ยงตรงทำให้สามารถทำงานได้ละเอียด - ควบคุมการทรงตัวของร่างกาย เมดุล ออบลองกาตา - ควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดันเลือด- ควบคุมการหายใจ- ควบคุการกลืน การสะอึกและการอาเจียน

  30. ระบบประสาทส่วนกลาง ไขสันหลัง อยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่บริเวณคอ จนถึงกระดูกบั้นเอวข้อที่สอง ซึ่งถ้าต่ำลงไปกว่านี้จะไม่มีส่วนที่เป็นเยื่อประสาท มีเพียงเยื่อหุ้มสมองชั้นใน ***** เนื้อไขสันหลังชั้นนอกจะเป็น เนื้อสีขาว(White matter) ส่วนเนื้อชั้นในจะเป็น เนื้อสีเทา(Gray matter)

  31. ระบบประสาทรอบนอก( peripheral nervous system ) Motor division ส่วนสั่งการ Sensory division ส่วนรับความรู้สึก เส้นประสาทสมอง (cranial nerve= CN) เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve= SN)

  32. เส้นประสาทสมอง • เส้นประสาทสมอง เป็นเส้นประสาทที่แยกมาจากสมองส่วนต่างๆ • ในสัตว์เลื้อยคลาย สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีเส้นประสาทสมองจำนวน 12 คู่ ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ มีจำนวน 10 คู่ • เส้นประสาทสมองมีสามประเภท ได้แก่ • เส้นประสาทสมองที่ทำหน้าที่รับความรู้สึก (sensory nerve) • เส้นประสาทสมองที่ทำหน้าที่สั่งการ (motor nerve) • เส้นประสาทสมองที่ทำหน้าที่ทั้งสั่งการและรับความรู้สึก (mixed nerve)

  33. เส้นประสาทสมอง

  34. เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) • ไขสันหลังมีส่วนที่เป็นเนื้อสีเทา (มีตัวเซลล์ประสาท) และเนื้อสีขาว (มีใยประสาทที่มี เยื่อหุ้มไมอีลิน)ตรงกลางเนื้อสีเทามีช่องที่บรรจุน้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง

  35. หน้าที่ของไขสันหลัง 1. เป็นศูนย์กลางของการเคลื่อนไหวต่างๆ ที่ตอบสนองการสัมผัสทางผิวหนัง 2.เป็นตัวเชื่อมระหว่างหน่วยรับความรู้สึก (receptor) กับหน่วยปฏิบัติงาน (effector) 3. เป็นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาท ระหว่างไขสันหลังกับสมอง

  36. สวัสดี

More Related