1 / 10

ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก จัดทำโดย นางสาวพิมพ์กานต์ คงอ่อน

ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก จัดทำโดย นางสาวพิมพ์กานต์ คงอ่อน รหัสประจำตัวนักศึกษา 5120710113 เสนอ ผู้ช่วย ศจ. ชิดชนก ระฮิม มูลา งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ( 196-415 ) Conflict Resolution in Southeast Asia

deliz
Télécharger la présentation

ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก จัดทำโดย นางสาวพิมพ์กานต์ คงอ่อน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรมกรณี ติมอร์ตะวันออก จัดทำโดย นางสาวพิมพ์กานต์ คงอ่อน รหัสประจำตัวนักศึกษา 5120710113 เสนอ ผู้ช่วย ศจ.ชิดชนก ระฮิมมูลา งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ( 196-415 ) Conflict Resolution in Southeast Asia คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

  2. ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรมกรณีติมอร์ตะวันออกความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรมกรณีติมอร์ตะวันออก

  3. ความเป็นมาของความขัดแย้งความเป็นมาของความขัดแย้ง ติมอร์ตะวันออก เป็นอาณานิคมของโปรตุเกสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520) ภายหลังโปรตุเกสถอนตัวออกไป เมื่อปี พ.ศ. 2518 อินโดนีเซียได้ส่งทหารเข้ายึดครองติมอร์ตะวันออกโดยผนวกเข้าเป็นจังหวัดที่ 27 ของอินโดนีเซีย

  4. การก่อตัวของความขัดแย้งการก่อตัวของความขัดแย้ง ชาวติมอร์ตะวันออกต้องการแยกตัวเป็นเอกราช รัฐชายขอบ ความแตกต่างทางอัตลักษณ์ อิสลาม (ชาวอินโดนีเซีย) คริสต์ (ชาวติมอร์ตะวันออก)

  5. รัฐบาลอินโดนีเซียยินยอมให้ชาวติมอร์ตะวันออกลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากอินโดนีเซีย ในวันที่ 30 สิงหาคม 2542 ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกกว่าร้อยละ 80 ออกเสียงสนับสนุนการแยกตัวเป็นเอกราช จึงก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงในติมอร์ตะวันออกโดยกลุ่มกองกำลัง militia ที่นิยมอินโดนีเซีย

  6. การจัดการปัญหาความขัดแย้งการจัดการปัญหาความขัดแย้ง ระยะเริ่มแรกรัฐบาลอินโดนีเซียมีการจัดการปัญหาด้วยการใช้ความรุนแรง ในการยุติความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

  7. ผลของการจัดการความขัดแย้งผลของการจัดการความขัดแย้ง ความขัดแย้งมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น การจัดการความขัดแย้ง โดยใช้ความรุนแรงของรัฐบาลอินโดนีเซียขณะนั้นถูกกล่าวหาว่าเป็น การละเมิดสิทธิมนุษยชน เมื่อรัฐบาลอินโดนีเซียไม่มีความสามารถในการจัดการปัญหา ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในชาติตนได้สหประชาชาติจึงต้องเข้ามา แทรกแซง

  8. บทบาทของสหประชาชาติในการจัดการปัญหาความขัดแย้งบทบาทของสหประชาชาติในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง สหประชาชาติได้ตัดสินใจจัดตั้งกองกำลังนานาชาติ (International Force in East Timor - INTERFET) เมื่อ 15 กันยายน พ.ศ. 2542 เพื่อส่งเข้าไปรักษาสันติภาพในติมอร์ตะวันออก ก่อนที่จะประกาศเอกราชในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2545 เริ่มตั้งแต่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 สหประชาชาติดำเนินการสนับสนุนติมอร์ตะวันออกภายใต้ United Nations Mission of Support in East Timor (UNMISET)

  9. แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาของติมอร์ตะวันออกมีความล่าช้า คือ ระบบการเมืองภายในประเทศยังคงอยู่ในระยะการสร้างชาติ มีกลุ่มการเมืองต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย จนก่อให้เกิดเป็นปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง การแข่งขันเพื่อแย่งชิงอำนาจทางการเมืองระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ และปัญหาความขัดแย้งที่ฝังลึกตั้งแต่สมัยอยู่ใต้การปกครองของอินโดนีเซียที่มีการแบ่งกลุ่มอุดมการณ์ออกเป็น ๒ ขั้ว คือ กลุ่มนายกุสเมา นายฮอร์ตา และกลุ่มศาสนจักร กับกลุ่มของนายมารี อัลคาทีรี (Mari Alkatiri) และพรรค FRETILIN

More Related