1 / 37

แนวทางมาตรการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease ; EVD)

แนวทางมาตรการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease ; EVD). กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 16 สิงหาคม 2557.

denis
Télécharger la présentation

แนวทางมาตรการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease ; EVD)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางมาตรการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease ; EVD) กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 16 สิงหาคม 2557

  2. บทสรุปสำหรับอีโบลาก็คือเรารู้ว่าจะหยุดมันอย่างไรการสาธารณสุขแบบดั้งเดิมค้นหาผู้ป่วย แยกผู้ป่วย ดูแลรักษาผู้ป่วยติดตามผู้สัมผัส ให้ความรู้ประชาชน และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัดทำสิ่งเหล่านี้อย่างพิถีพิถันละเอียดลออ แล้วอีโบลาจะหมดไป นพ. โธมัส ฟรีเด็นผอ.ศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา

  3. Distribution of Ebola virus disease outbreaks and Marburg haemorrhagic fever outbreaks in Africa, 1976–2011

  4. โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • ระยะฟักตัว 2 – 21 วัน (ทั่วไปประมาณ 4 – 10 วัน) • Highly transmissible โดย • การสัมผัสโดยตรงกับ เลือด สารคัดหลั่ง ชิ้นเนื้อ อวัยวะ ของเหลวจากร่างกาย ศพ ของผู้ติดเชื้อ • การสัมผัสสิ่งของที่มีเชื้อติดอยู่ • Casual contact มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่ำ • การระบาดรอบนี้มีวิธีการแพร่เชื้อที่สำคัญคือ person-to-person transmission และ การจัดการศพและพิธีศพ

  5. Levels of risk of transmission of Ebola virus according to type of contact with an infected patient Risk level andType of contact Very low or no recognised risk Casual contact with a feverish, ambulant, self-caring patient. Examples: sharing a sitting area or public transportation; receptionist tasks. Low risk Close face-to-face contact with a feverish and ambulant patient. Example: physical examination, measuring temperature and blood pressures. Moderate risk Close face-to-face contact without appropriate personal protective equipment (including eye protection) with a patient who is coughing or vomiting, has nosebleeds or who has diarrhoea. High riskPercutaneous, needle stick or mucosal exposure to virus-contaminated blood, bodily fluids, tissues or laboratory specimens in severely ill or known positive patients

  6. โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • โอกาสการแพร่เชื้อจะต่ำในช่วงแรกที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการ ดังนั้น ตรวจจับผู้ป่วยให้ได้ตั้งแต่อาการน้อยๆ จึงมีความสำคัญสูง • อาการสำคัญคือมีไข้ ปวดศรีษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง อาเจียน ถ่ายเหลว เลือดออก • อัตราป่วยตายของการระบาดด้วยเชื้อไวรัสอีโบลาสายพันธุ์ Zaire อยู่ที่ประมาณร้อยละ 50 – 90 • การรักษาเป็นการรักษาตามอาการยังไม่ยารักษาเฉพาะ และยังไม่มีวัคซีน

  7. โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • เราสามารถ inactivated เชื้ออีโบลาได้โดยวิธี UV radiation, gamma irradiation, heating for 60 minutes at 60 °C or boiling for five minutes. • เชื้อไวรัสสามารถถูกทำลายได้ด้วยsodium hypochlorite และ disinfectants • Freezing or refrigeration ไม่สามารถ inactivate เชื้ออีโบลาได้

  8. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 All country ในช่วง 4 สัปดาห์ล่าสุดพบผู้ป่วยถึง 815 ราย (46% ของทั้งหมด)

  9. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 Guinea Sierra Leone Liberia Nigeria source: http://www.cdc.gov/ source: www.ecdc.europa.eu/

  10. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขการติดเชื้อของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข • นับถึงวันที่ 11 สิงหาคม มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขติดเชื้อแล้วมากกว่า 170 คน และเสียชีวิตแล้วกว่า 81 คน (http://www.who.int/csr/disease/ebola/overview-august-2014/en/) • ในประเทศไนจีเรียมีผู้สัมผัสนาย Patrick Sawyer จำนวน 59 คน (เป็นเจ้าหน้าที่สนามบิน 15 คน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 44 คน) ในจำนวนนี้มีผู้ติดเชื้อแล้ว 12 คน • ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงสุด: ผู้ดูแลผู้ป่วยใกล้ชิด

  11. WHO ประกาศ PHEIC 8 สค. 2557 ให้อีโบลา เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency) เพราะ • การระบาดในอาฟริกาด้านตะวันตก เป็นภัยคุกคามต่อประเทศอื่นๆ • มึความเสี่ยงที่จะการแพร่โรคระหว่างประเทศ ซึ่งน่ากังวลเพราะโรคนี้มีความรุนแรง สามารถติดต่อในสถานพยาบาล ในขณะที่ระบบสาธารณสุขของประเทศที่มีการระบาด อยู่ในสภาพอ่อนแอ • จำเป็นต้องระดมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อหยุดยั้งการระบาดในประเทศติดโรค และการแพร่โรคระหว่างประเทศ

  12. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (1) องค์การอนามัยโลก • ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในอาฟริกาตะวันตกเป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) • ประเทศที่มีการระบาด: ออกคำแนะนำให้มีการจำกัดการเดินทางของผู้ป่วยอีโบลาหรือผู้สัมผัส การคัดกรองผู้โดยสารขาออก จัดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในระดับสูงสุด เพิ่มความพร้อมของอุปกรณ์ในการดูแลรักษา การวินิจฉัย และลดกิจกรรมการรวมตัวของคนหมู่มาก • ประเทศที่มีความเสี่ยงสูงและประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีการระบาด: ให้มีการเตรียมการเฝ้าระวัง การจัดระบบตรวจทางห้องปฏิบัติการ การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อและการสอบสวนควบคุมโรค • ประเทศอื่นๆ: ไม่มีการห้ามเดินทางหรือการค้า แต่ให้เตรียมความพร้อมในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง

  13. ผลดีของการประกาศอีโบลาเป็น PHEIC • ช่วยให้ประเทศที่มีการระบาด ในอาฟริกา ควบคุมโรคได้ดีขึ้น • การประกาศภาวะฉุกเฉิน ช่วยจำกัดคน เดินทางเข้าออกจากพื้นที่ระบาด • รัฐบาลยกระดับการควบคุมโรค ระดม ความร่วมมือภายในประเทศ ได้มากขึ้น • มีโอกาสได้รับความช่วยเหลือจากนานาชาติมากขึ้น • ลดความเสี่ยงของการแพร่โรคไปยังภูมิภาคอื่นของโลก • การตรวจคัดกรองผู้เดินทางขาออก (Exit screening) จะช่วยลดความเสี่ยงที่จะมีผู้ป่วย ขึ้นเครื่องบินออกเดินทางไปแพร่เชื้อนอกประเทศ • สำหรับประเทศไทย เจ้าหน้าที่ด่าน ตป. จะเฝ้าระวังโรคในผู้เดินทางระหว่างประเทศ ได้สะดวกขึ้น

  14. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (4) US CDC • ให้คำแนะนำผู้เดินทางเป็นระดับสูงสุด (ระดับ 3) ในทั้ง 3 ประเทศ คือให้หลีกเลี่ยงการเดินทางที่ไม่จำเป็น ส่วนไนจีเรียให้เป็นระดับสองคือเดินทางด้วยความระมัดระวัง • ในสัปดาห์ที่ผ่านมา CDC เพิ่มระดับ EOC response level เป็นระดับ 1 มีการระดมบุคลากรเพื่อมาร่วมการดำเนินการเรื่องอีโบลา มีการส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปช่วยในประเทศที่กำลังระบาด (กินี 14, ไลบีเรีย 18, ซิเอร่า เลโอน 16, ไนจีเรีย 7) – Stop Ebola at its source • จัดตั้ง Emergency Operation Centers และระบบข้อมูล • ช่วยเรื่อง Exit Screening • เตรียมความพร้อมรับมือภายในประเทศ

  15. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (5) ห้องผู้ป่วย: ให้ผู้ป่วยพักในห้องแยก มีห้องน้ำในตัว จำกัดและบันทึกผู้เข้าห้องผู้ป่วยอุปกรณ์ป้องกัน : เจ้าหน้าที่ควรสวมใส่ถุงมือ กาวกันน้ำ พลาสติกคลุมรองเท้า แว่นหรือพลาสติกป้องกันใบหน้า และหน้ากากป้องกันโรค และอาจพิจารณาสวมใส่อุปกรณ์อื่นๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ การทำหัตถการที่ก่อให้เกิดละอองฝอย: ให้หลีกเลี่ยงหัตถการที่ก่อให้เกิดละอองฝอย หากจำเป็นให้ดำเนินการในห้องแยก การติดเชื้อทางอากาศ และใสหน้ากากป้องกัน ที่เหมาะสม (N95 หรือสูงกว่า) การทำความสะอาดห้องและสิ่งแวดล้อม:

  16. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (6) • มาตรการคัดกรอง ตรวจสุขภาพ และติดตามนักเดินทาง • Mandatory self-reporting • Thermoscan ซักประวัติ และวัดอุณหภูมิ • Health beware card • การติดตามสอบถามอาการผู้เดินทาง • มาตรการตั้งรับ อาศัยการวินิจฉัยและแยกผู้ป่วยให้ได้โดยเร็ว • Early detection • Infection Control

  17. การประเมินความเสี่ยงต่อโรคอีโบลาของประเทศต่างๆการประเมินความเสี่ยงต่อโรคอีโบลาของประเทศต่างๆ

  18. การประเมินความเสี่ยงของไทยการประเมินความเสี่ยงของไทย • ความเสี่ยงที่จะมีการเชื้อเข้าประเทศ – ระดับต่ำ • มีผู้เดินทางจากประเทศที่มีการระบาด มีจำนวนไม่มาก • มีคนไทย เดินทางไปประเทศที่มีการระบาด จำนวนน้อย • มีระบบการเฝ้าระวังโรค จากผู้เดินทางเข้าประเทศ • ไม่มีการนำเข้าสัตว์ป่า จากประเทศที่มีการระบาด • มาตรการหลัง PHEIC จะช่วยลดการแพร่เชื้อข้ามประเทศ • ความเสี่ยงที่จะมีการระบาดในประเทศ เมื่อมีเชื้อนำเข้า – ระดับต่ำ • มีระบบเฝ้าระวังโรค สอบสวน ติดตามผู้สัมผัส ควบคุมโรค • สถานพยาบาลได้เตรียมความพร้อม ในการดูแลผู้ป่วย และควบคุมการติดเชื้อ • ประชาชนมีความตื่นตัว และตระหนัก

  19. แนวทาง /มาตรการการดำเนินงาน ป้องกันและควบคุมโรคในประเทศ • การแบ่งระดับสถานการณ์ แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ • 1. ไม่พบผู้ป่วยในประเทศ • 2. พบผู้ป่วยยืนยันในประเทศ และมีประวัติเดินทางมาจากพื้นที่ที่พบการระบาดของโรค รวมทั้งประเทศที่มีพรมแดนติดกับพื้นที่ที่พบการระบาด (Imported case) • 3. พบการแพร่ระบาดของโรคในประเทศ (Transmission)

  20. แสดงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เป้าหมายการดำนินงานป้องกันและควบคุมโรคในประเทศ สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, ไม่พบผู้ป่วยในประเทศ เป้าหมาย : เตรียมพร้อม และ ตรวจจับการระบาดได้รวดเร็ว พบผู้ป่วยและมีประวัติเดินทางไปประเทศที่มีการระบาด ในประเทศ สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, เป้าหมาย : ควบคุมโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย (Rapid containment) สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, พบการระบาดของโรค ในประเทศ เป้าหมาย : ควบคุมโรคไม่ให้กระจายวงกว้าง และบรรเทาความสูญเสีย

  21. แสดงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา แนวทางมาตรการการดำนินงานป้องกันและควบคุมโรคในประเทศ • - • ประกาศโรคติดต่ออันตราย • ติดตามเฝ้าระวัง วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ • เตรียมความพร้อมด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค การวินิจฉัยรักษา การส่งต่อผู้ป่วย Lab Logistics ค้นคว้าวิจัยองค์ความรู้ • สื่อสารความเสี่ยง สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, ไม่พบผู้ป่วยในประเทศ • ประกาศพื้นที่ภัยพิบัติ ความรุนแรงระดับ 2 • เปิด War room กสธ.และพื้นที่ • เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และยกระดับมาตรการเมื่อพบว่ามีการระบาด • เตรียมความพร้อมทีมบุคลากรการแพทย์ • สื่อสารความเสี่ยง พบผู้ป่วยและมีประวัติเดินทางไปประเทศที่มีการระบาด ในประเทศ สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, • ประกาศพื้นที่ภัยพิบัติ ความรุนแรงระดับ 3 หรือ 4 • เปิดศูนย์บัญชาเหตุการณ์ “ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ” • ดำเนินการตามแนวทางที่พบการระบาดโรคติดต่อเชื้อ อีโบลาในประเทศ โดบบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, พบการระบาดของโรค ในประเทศ

  22. มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทยมาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย ดำเนินการสอดคล้องกับ WHO ตามประกาศ PHEIC ดังนี้ • การจัดระบบเฝ้าระวังโรคทั้งในคนและสัตว์ • ดำเนินการติดตามสถานการณ์ร่วมกับ WHO ประเมินความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มมีการระบาด • ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดำเนินการคัดกรองผู้ที่เดินทางมาจากประเทศที่พบโรค โดยการซักประวัติสุขภาพ วัดอุณหภูมิร่างกาย และมีการติดตามผู้ที่เดินทางมาจากประเทศ ที่พบการระบาดของโรคทุกวัน จนกว่าจะครบ 21 วัน

  23. มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ) • ดำเนินการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการไข้ ๓๘ องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับมีประวัติเดินทางกลับมาจากประเทศที่พบผู้ป่วยในช่วง ๒๑ วันก่อนเริ่มป่วย โดยให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อสอบสวนและเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทันที ซึ่งขณะนี้ยังไม่พบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

  24. มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ) 2. การดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล สถานพยาบาลมีห้องแยกผู้ป่วยทุกจังหวัด และให้ปฏิบัติตามหลักการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลเหมือนผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายสูง เช่น โรคซาร์ส อย่างเคร่งครัด • คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัสอีโบ สำหรับบุคลากรและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข • การรักษาผู้ป่วย ให้ปฏิบัติตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุมป้องกันการติดเชื้อจากกรมการแพทย์ ทั้งนี้มีการคำปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาลในการรักษาตลอด 24 ชั่วโมง

  25. มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ) 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายทั่วประเทศ เพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 4. การบริหารจัดการ กรมควบคุมโรค และกระทรวงสาธารณสุข เปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานและสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติทั่วประเทศ จัดประชุมผู้เชี่ยวชาญ เพื่อประเมินสถานการณ์และความเสี่ยง พร้อมทั้งปรับมาตรการในการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

  26. มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ) • กระทรวงการต่างประเทศ ได้มีคำเตือนประชาชนไทยให้หลีกเลี่ยง การเดินทางเข้าไปยังประเทศที่เกิดโรค หากจำเป็นต้องเดินทางไปให้ลงทะเบียนการเดินทางตามมาตรการของกระทรวงการต่างประเทศ รายละเอียด www.thaiembassy.org • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังสัตว์ที่มาจากอาฟริกา ไม่พบมีการนำสัตว์เข้ามายังประเทศไทย • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ชะลอการนำเข้าสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์จากประเทศที่มีรายงานการระบาดของ EVD และมีการควบคุมการนำเข้าทั้งทางท่าอากาศยาน ท่าเรือ และชายแดน

  27. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขประกาศกระทรวงสาธารณสุข • เพิ่มเติมชื่อโรคติดต่อและอาการสำคัญ • “50. โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD) มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อปวดศรีษะ และเจ็บคอ ตามด้วยอาการอาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นขึ้น ในรายที่มีอาการรุนแรงจะพบว่ามีตับวายหรือไตวาย ในบางรายจะมีเลือดออกทั้งในอวัยวะภายในและภายนอก จนกระทั่งเสียชีวิตในที่สุด ส่วนใหญ่มักมีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วยหรือสัตว์ป่วยหรือตายด้วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD)” • เพิ่มเติมชื่อโรคติดต่อต้องแจ้งความ • เพิ่มเติมชื่อโรคติดต่ออันตราย

  28. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขประกาศกระทรวงสาธารณสุข • ประเทศหรือดินแดนที่เป็นเขตติดโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา(Ebola virus disease - EVD) • อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๔ และมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขจึงออกประกาศไว้ ดังนี้ • ข้อ 1 ให้ประเทศหรือดินแดนดังต่อไปนี้ เป็นเขตติดโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD ) • (1) สาธารณรัฐกินีบิสเซา (Republic of Guinea - Bissau) • (2) สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน (Republic of Sierra Leone) • (3) สาธารณรัฐไลบีเรีย (Republic of Liberia) • ข้อ 2 ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่131 ตอนพิเศษ 154 ง 15สิงหาคม 2557

  29. เจ้าพนักงานสาธารณสุขได้แก่เจ้าพนักงานสาธารณสุขได้แก่ • อธิบดีกรมควบคุมโรค ผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไป ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชุน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการสำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ผู้อำนวยการสำนักป้องกันควบคุมโรค ที่ 1 – 12

  30. 1.เมื่อมีการเกิดขึ้น/หรือมีเหตุสงสัยเกิดขึ้น1.เมื่อมีการเกิดขึ้น/หรือมีเหตุสงสัยเกิดขึ้น • -เจ้าบ้าน แพทย์ • -เจ้าของสถานพยาบาล • -ผู้รับผิดชอบสถานีที่ได้รับการชันสูตรทางการแพทย์ • -ผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์ • แจ้งชื่อ ที่อยู่ อาการของผู้ป่วย ต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุข • บทลงโทษ • ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท (มาตรา 17)

  31. 2.เมื่อมีการเกิดขึ้นหรือเหตุสงสัยในบริเวณใด2.เมื่อมีการเกิดขึ้นหรือเหตุสงสัยในบริเวณใด • -เจ้าพนักงานสาธารณสุขดำเนินการเองหรือออกคำสั่งประกาศไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานที่แยกกัก สถานที่กักกันบ้าน สถานที่หรือพาหนะ หรือบริเวณใกล้เคียง ห้ามผู้ใดเข้าออก เว้นแต่ได้รับอนุญาต (ตามมาตรา 9) • ปรับไม่เกินสองพันบาท(มาตรา 17) • จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท(มาตรา 18) • 2.1 คนป่วย/คนสงสัยว่าป่วยมารับการตรวจ ชันสูตร รักษา หรือคุมไว้สังเกต ณ สถานที่ที่กำหนด • 2.2 กักกัน/คุมไว้สังเกตในผู้สัมผัสโรค • 2.3 กำจัดความติดโรคหรือทำงานสิ่งของใดๆ ที่มีเหตุเรื่องได้ว่าเป็นสิ่งติดโรค ในสถานที่หรือพาหนะ • 2.4 นำศพ ไปรับการตรวจหรือจัดการ ด้านประการอื่นใด เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค

  32. 3.เมื่อมีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้น/น่าจะเกิดขึ้นในท้องที่ใด3.เมื่อมีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้น/น่าจะเกิดขึ้นในท้องที่ใด • -ผู้ว่าราชการจังหวัด • จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท(มาตรา 18) • ประกาศเขตติดโรคในพื้นที่ตน • -ห้ามผู้ใดเข้าออกจากเขตติดโรคเว้นแต่ได้รับอนุญาต • -รื้อถอนทำงาน สถานที่ พาหนะ หรือสิ่งของใดๆ เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค • -ปิดตลาด โรงมหรสพ สถานศึกษา โรงงาน สถานที่ชุมชน หรือ สถานที่อื่นใด ชั่วคราว เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค • -ห้ามคนป่วย/สงสัยว่าป่วยประกอบอาชีพ เข้าไปในสถานที่ศึกษา สถานที่ชุมชน หรือสถานที่อื่นใด เว้นแต่ได้รับอนุญาต

  33. 4.การประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดในต่างประเทศเป็นเขตติดโรคโดยรัฐมนตรีสาธารณสุข4.การประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดในต่างประเทศเป็นเขตติดโรคโดยรัฐมนตรีสาธารณสุข • เจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ • :- ดำเนินการเอง • :- ออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมพาหนะดำเนินการ • ปรับห้าหมื่นบาท • จำคุก 1 ปี • -ปรับหนึ่งหมื่นบาทจำคุก 6 เดือน • (มาตรา18) • -ดำเนินการเพื่อกำจัดความติดโรคและเพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค • -จัดให้พาหนะจอดอยู่ ณ สถานีที่กำหนด • -ให้ผู้เดินทางมากับพาหนะนั้นรับการตรวจไปทางการแพทย์แยกกักกันคุมไว้สังเกต ณ สถานีที่กำหนด • -ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะเว้นแต่ได้รับอนุญาต

  34. 5.เมื่อมีเหตุอันสมควร(กรณี WHO ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัส อีโบลาเป็น PHEIC) • เจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ • ปรับสองพันบาท • ผู้ควบคุมยานพาหนะหรือเจ้าของ • :-แจ้งกำหนดการ เข้ามา • :-ยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงาน • :-ห้ามผู้ใดเข้าออก เว้นแต่ได้รับอนุญาต • :-เข้าไปในพาหนะ ตรวจผู้เดินทาง สิ่งของหรือสัตว์ รวมทั้งกำจัดสิ่งที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ • :-โดยต้องอำนวยความ สะดวกแก่เจ้าพนักงานฯ

  35. สรุปและข้อเสนอ • สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในประเทศแถบอาฟริกาตะวันตกขณะนี้อยู่ในสถานการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมการระบาดได้ • คาดว่าจะระบาดต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 3-6 เดือน • มาตรการที่ดำเนินการในประเทศไทยเป็นไปตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกตามประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) และจะมีการติดตามประเมินปรับมาตรการตามสถานการณ์เป็นระยะ • การประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เป็นโรคติดต่ออันตราย เพื่อให้มีการดำเนินมาตรการได้อย่างเข้มข้นเพิ่มขึ้น

  36. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ www.beid.ddc.moph.go.thหรือ ติดต่อได้ที่สายด่วนกรมควบคุมโรค 1422

More Related