1 / 7

การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง

การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง. ประเด็นยุทธศาสตร์ การอนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน. สถานการณ์ภัยแล้ง จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ. 2555. เสี่ยงสูง 243 หมู่บ้าน. เสี่ยงน้อยมาก 23 หมู่บ้าน. ที่มา : สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.

Télécharger la présentation

การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง • ประเด็นยุทธศาสตร์ • การอนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน

  2. สถานการณ์ภัยแล้ง จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ. 2555 เสี่ยงสูง 243 หมู่บ้าน เสี่ยงน้อยมาก 23 หมู่บ้าน ที่มา : สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  3. ตารางสรุปข้อมูลทรัพยากรน้ำจังหวัดหนองบัวลำภูตารางสรุปข้อมูลทรัพยากรน้ำจังหวัดหนองบัวลำภู ที่มา : สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 3, 2556

  4. ป้องกันและแก้ปัญหา พัฒนาระบบการบริหาร จัดการเพื่อการใช้ประโยชน์ คุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟู • การแก้ไขปัญหาอุทกภัย • การจัดการน้ำเสีย • การจัดการปัญหาคุณภาพน้ำให้เหมาะกับการเพาะปลูก – การพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดและเตือนภัยคุณภาพน้ำ • เสริมสร้างการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้าใจของทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาน้ำ • สร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชน/เครือข่าย ในการอนุรักษ์และดูแลลุ่มน้ำ • การบังคับใช้กฎหมายในการปล่อยน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด • บูรณาการการจัดบริหารจัดการลุ่มน้ำร่วมกันกับพื้นที่ใกล้เคียง • อนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ำให้กลับคืนสู่สมดุล • การปรับปรุงแหล่งกักเก็บน้ำ ระบบระบายน้ำ และผันน้ำ • พัฒนา ปรับปรุงและพัฒนาระบบกระจายน้ำให้กับพื้นที่ที่ยังขาดแคลน • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำเพื่ออุปโภคและบริโภค และเพื่อการเกษตร • การบริหารจัดการการใช้พื้นที่ (Zoning) • ส่งเสริมการเกษตรเชิงอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาให้มีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน

  5. VC 1 :ป้องกันและแก้ปัญหา CFS 1.1 : การจัดการปัญหาคุณภาพน้ำให้เหมาะกับการเพาะปลูก – การพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดและเตือนภัยคุณภาพน้ำ

  6. VC 2 :พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อการใช้ประโยชน์ CFS 2.1 : พัฒนา ปรับปรุงและพัฒนาระบบกระจายน้ำให้กับพื้นที่ที่ยังขาดแคลน

  7. VC 3 :คุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟู CFS 3.1 :สร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชน/เครือข่าย ในการอนุรักษ์และดูแลลุ่มน้ำ

More Related